เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 20 เมษายน 2024, 16:53:44
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  เรื่องล้านนา ภาษากำเมือง
| | |-+  ที่มาของ ชื่ออำเภอ ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงราย
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: [1] 2 3 4 พิมพ์
ผู้เขียน ที่มาของ ชื่ออำเภอ ต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงราย  (อ่าน 16967 ครั้ง)
แมงคอลั่น
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,451



« เมื่อ: วันที่ 20 พฤษภาคม 2011, 20:48:33 »

ใคร่หื้อ พี่พี่ น้องน้อง ช่วยกัน สาธยายที่มาที่ไปของชื่ออำเภอ ในจังหวัดเชียงราย
และพะเยา หื้อหมู่เฮาได้ฮู้กันพ่องลอ
เช่น "แม่จัน" มาจากน้ำที่ไหลผ่านชื่อน้ำ"แม่จัน" แต่กำว่า "จัน" กำเดียวนี้
มันแปล๋ว่าบะหยัง ลุกตางใดมา เป๋นกำเมืองก่อ กะว่า แผลง หรือ เพี้ยนมาจากกำบะหยัง

และอำเภอแม่ใจ "  กำว่า "ใจ" ตั๋วเดียว มันลุกตางใดมา หัวใจ หล้างบ่าใจ้ก้า
ไผฮู้ บอกจิ่มเน่อ
IP : บันทึกการเข้า
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2,024



« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 23 พฤษภาคม 2011, 21:46:04 »

อ้ายมะกอแลนครับ
จื่อ "อำเภอแม่ฟ้าหลวง" นี่บ่ต้องบอกก็ได้ก้าว่าลุกตี้ไหนมา

คนอ่านเปิ้นตึงหู้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 23 พฤษภาคม 2011, 21:49:29 โดย เชียงรายพันธุ์แท้ » IP : บันทึกการเข้า
ล้อล้านนา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 444


« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 25 พฤษภาคม 2011, 09:52:01 »

     1. เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่ "อำเภอแม่สรวย" ไม่เคยคิดที่จะขอเปลี่ยนชื่อเดิมของตัวเอง ทั้งๆ ที่คำว่า "สรวย" คำนี้มิได้มีความหมายใดๆ ทั้งสิ้น เป็นเพียงการเขียนขึ้นฟังไม่ได้ศัพท์จับไม่ได้ความของราชการเท่านั้น "อำเภอแม่ซ่วย" ตั้งขึ้นใหม่หลังจากย้ายที่ว่าการ "อำเภอแม่พริก" จังหวัดเชียงราย ไปตั้งใหม่ข้างแม่น้ำซ่วย ที่ในตำนานครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้มาใช้น้ำนี้สรงพระพักตร์ (ซ่วยหน้า = ล้างหน้า) แต่เหตุใดไม่มีการเปลี่ยนคืนทั้งๆ ที่มีความหมายชัดเจน
     2. อำเภอพญาเม็งราย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอพญามังราย
     3. อำเภอเวียงชัย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงไชย (เพราะ "ชัย" ในการเขียนภาษาล้านนาไม่ใช้ตัวนี้)
     4. อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงเชียงรุ่ง โดยมีหลักฐานศิลาจารึกชัดเจนว่าบริเวณนั้นคือ "เวียงเจียงฮุ่งน้อย" และเป็นเมืองของพระมารดาพญามังรายหลวง ซึ่งอพยพมาจากเชียงรุ่ง สิบสองปันนา "รุ่ง" หมายถึงรุ่งเรือง พุ่งขึ้นไป "รุ้ง" คิดเอาเอง และพ้องกับคำว่า "ฮุ้ง" ที่แปลว่า "นกเหยี่ยว" (ชอบกินไก่น้อย) เคยมีหนังสือคัดค้านให้ใช้ "เวียงเชียงรุ่ง" เมื่อแรกตั้งกิ่งอำเภอแล้ว แต่ทางราชการไม่ยอม จึงเป็นที่มาของความหมายที่ผิดเพี้ยนหั้น
     5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน" จนกระทั่ง กิ่งอำเภอเชียงแสนหลวง ยกฐานะเป็นอำเภอ จึงเปลี่ยน "เชียงแสนแม่จัน" เหลือแค่ "แม่จัน" เหตุผลที่ทำการย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงแสนมาตั้งที่แม่คี และกาสา นอกจากเงี้ยวเข้าปล้นที่ว่าการอำเภอเดิมแล้ว ยังเป็นผลพวงมาจากสนธิสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศสให้ถอยอพยพจากจุดแบ่งแดนน้ำของ ฝ่ายละ 30 กม. (หลักหมุดปักอยู่ที่บ้านกิ่วพร้าว ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังหาร่องรอยได้หรือไม่) จึงได้เกิดเป็นอำเภอแม่จันในปัจจุบัน


อำเภอที่เหลือคงจะพอทราบๆ กันแล้ว เอาเต้าอี้ก่อนเน้อ.
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 25 พฤษภาคม 2011, 09:57:23 โดย ล้อล้านนา » IP : บันทึกการเข้า
แมงคอลั่น
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,451



« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 25 พฤษภาคม 2011, 16:15:30 »

5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน"
แล้วกำว่า "แจน"มันแปล๋ว่าหยัง
IP : บันทึกการเข้า
ล้อล้านนา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 444


« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2011, 12:46:21 »

5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน"
แล้วกำว่า "แจน"มันแปล๋ว่าหยัง
ดอยจัน นั่นนะครับ ดอยจันหมายถึงดอยสูงชัน ลวดฮ้องสายน้ำตี้ไหนลุกดอยนี้มาว่า "น้ำจัน" ซึ่งบ่ได้ปะแหลว่า "เหล้า" เน้อ ส่วนตี้บอกว่า "แจน" เป็นสำเนียงบ่ดายครับ สำเนียงคนพื้นถิ่นอู้ตามสำเนียงของเปิ้น บ่ได้เป็นความหมายอื่นครับ
IP : บันทึกการเข้า
warrior
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 305



« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2011, 13:35:10 »

ปูสาดรอฟัง
IP : บันทึกการเข้า
Mickey
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 27 พฤษภาคม 2011, 22:43:25 »

อ.เทิงละครับ มาจากคำว่าหยัง ผมอยากฮู้เหมือนกัน
IP : บันทึกการเข้า
Jeekuk
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #7 เมื่อ: วันที่ 30 พฤษภาคม 2011, 14:30:13 »

5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน"
แล้วกำว่า "แจน"มันแปล๋ว่าหยัง
ดอยจัน นั่นนะครับ ดอยจันหมายถึงดอยสูงชัน ลวดฮ้องสายน้ำตี้ไหนลุกดอยนี้มาว่า "น้ำจัน" ซึ่งบ่ได้ปะแหลว่า "เหล้า" เน้อ ส่วนตี้บอกว่า "แจน" เป็นสำเนียงบ่ดายครับ สำเนียงคนพื้นถิ่นอู้ตามสำเนียงของเปิ้น บ่ได้เป็นความหมายอื่นครับ

กำว่า "ชัน" ในกำเมือง คือ "จิ้ง" ด้วยความเคารพท่านล้อล้านนา ผมก็ยังบ่าแล้วใจ๋เตื้อกับกำว่า
จัน -แจน

IP : บันทึกการเข้า
Jeekuk
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #8 เมื่อ: วันที่ 30 พฤษภาคม 2011, 14:39:28 »

อ.เทิงละครับ มาจากคำว่าหยัง ผมอยากฮู้เหมือนกัน
อันนี้เป็นความเห็นของผมกึ๊ดคนเดียวเน่อ ไผฮู้แต้ก็บอกจิ่ม
กำว่า"เทิง" ตางล้านนาหมายถึง ที่เก็บของที่อยู่ตางบนของเติ๋น(ถามหาเติ๋นแหมละก้า)
ใหญ่กว่าหิ้ง คล้ายเพดานแต่บ่เต็มพื้นที่ คนบะเก่าเปิ้นจ้างเอาเก็บ หม้อ ไห น้ำต้นหรือของอื่นๆที่เป็นสำรอง จะเอาลงมาไจ้ก็เมื่อมีปอย
แล้วเมืองเทิงผมบ่าแน่ใจ๋ว่าเป็นที่ราบสูงก่อ ถ้าเป็นที่สูงก็น่าจะแม่น
ถูกบ้าถูกบ่าฮู้เน่อ
IP : บันทึกการเข้า
ลุงปันแน
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 126


« ตอบ #9 เมื่อ: วันที่ 31 พฤษภาคม 2011, 13:41:04 »

คำว่า แม่จัน  น่าจะมาจากคำว่าแม่น้ำจันแต่คนพื้นที่ส่วนมากเป็นคนยองงจึงเพี้ยนเป้น แม่แจน และเป็นแมจันในที่สุด
IP : บันทึกการเข้า
ล้อล้านนา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 444


« ตอบ #10 เมื่อ: วันที่ 04 มิถุนายน 2011, 07:38:12 »

อ.เทิงละครับ มาจากคำว่าหยัง ผมอยากฮู้เหมือนกัน
อันนี้เป็นความเห็นของผมกึ๊ดคนเดียวเน่อ ไผฮู้แต้ก็บอกจิ่ม
กำว่า"เทิง" ตางล้านนาหมายถึง ที่เก็บของที่อยู่ตางบนของเติ๋น(ถามหาเติ๋นแหมละก้า)
ใหญ่กว่าหิ้ง คล้ายเพดานแต่บ่เต็มพื้นที่ คนบะเก่าเปิ้นจ้างเอาเก็บ หม้อ ไห น้ำต้นหรือของอื่นๆที่เป็นสำรอง จะเอาลงมาไจ้ก็เมื่อมีปอย
แล้วเมืองเทิงผมบ่าแน่ใจ๋ว่าเป็นที่ราบสูงก่อ ถ้าเป็นที่สูงก็น่าจะแม่น
ถูกบ้าถูกบ่าฮู้เน่อ

จิ้งก็มี จันก็มีครับ "จิ้ง" ลาดเอียง "จัน" สูงชัน น้ำจันก็ไหลลุกดอยจันนั่นนะครับ บ่แล้วใจ๋จาใดครับ เพราะผมเป็นคนเปิดประเด็นละก็อธิบายหื้อฟังแล้ว ถ้าผมบ่อู้ว่าสำเนียงเป็น "แจน" ก็บ่มีไผข้องใจ๋น่อครับ ขอย้ำว่าเป็นสำเนียงบ่ดาย บ่ได้มีความหมายของ "แจน" ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 04 มิถุนายน 2011, 07:41:25 โดย ล้อล้านนา » IP : บันทึกการเข้า
ล้อล้านนา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 444


« ตอบ #11 เมื่อ: วันที่ 04 มิถุนายน 2011, 07:43:29 »

คำว่า แม่จัน  น่าจะมาจากคำว่าแม่น้ำจันแต่คนพื้นที่ส่วนมากเป็นคนยองงจึงเพี้ยนเป้น แม่แจน และเป็นแมจันในที่สุด
ตามนี้ครับ เดือน : เดิน รถเครื่อง : รถเคิ่ง บ้านเพนียด : บ้านผะเนด ฯลฯ บ่ได้สื่อถึงความหมายใดๆ นอกจากสำเนียงเท่านั้น
IP : บันทึกการเข้า
ล้อล้านนา
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 444


« ตอบ #12 เมื่อ: วันที่ 04 มิถุนายน 2011, 07:48:08 »

อ.เทิงละครับ มาจากคำว่าหยัง ผมอยากฮู้เหมือนกัน
อันนี้เป็นความเห็นของผมกึ๊ดคนเดียวเน่อ ไผฮู้แต้ก็บอกจิ่ม
กำว่า"เทิง" ตางล้านนาหมายถึง ที่เก็บของที่อยู่ตางบนของเติ๋น(ถามหาเติ๋นแหมละก้า)
ใหญ่กว่าหิ้ง คล้ายเพดานแต่บ่เต็มพื้นที่ คนบะเก่าเปิ้นจ้างเอาเก็บ หม้อ ไห น้ำต้นหรือของอื่นๆที่เป็นสำรอง จะเอาลงมาไจ้ก็เมื่อมีปอย
แล้วเมืองเทิงผมบ่าแน่ใจ๋ว่าเป็นที่ราบสูงก่อ ถ้าเป็นที่สูงก็น่าจะแม่น
ถูกบ้าถูกบ่าฮู้เน่อ
อำเภอเทิง ต้องไปถามคนตี้มีนามสกุล ใจเถิง บุญเถิง ฯลฯ ผ่อน่อครับ ต้นตระกูลเป็นไผ แล้วความหมายของ "เถิง" ตวยน่อ อำเภอเทิง ก็มาจาก "เถิง" บ่ใจ่ภาษาไทย แต่คนไทยเปิ้นมาเขียนเอาแหมใหม่ เหมือนกรณี "บ้านครึ่ง" ต.ครึ่ง อ.เชียงของ สมัยก่อนเรียกว่า "บ้านเคิ่ง" ลุกเมืองน่านมา ปอมาเขียนป้ายจื่อบ้านเป็น "ครึ่ง" (เหลือกึ่งเดียวเหียแล้ว) ฯลฯ
IP : บันทึกการเข้า
Jeekuk
บุคคลทั่วไป
« ตอบ #13 เมื่อ: วันที่ 04 มิถุนายน 2011, 13:04:39 »

กรณี "บ้านครึ่ง" ต.ครึ่ง อ.เชียงของ สมัยก่อนเรียกว่า "บ้านเคิ่ง" ลุกเมืองน่านมา ปอมาเขียนป้ายจื่อบ้านเป็น "ครึ่ง" (เหลือกึ่งเดียวเหียแล้ว) ฯลฯ
กำว่าเคิ่ง หมายถึง ซื่อกัน ตั๊ดกัน เพราะ ที่ อ.สารภี มีวัด ช่างเคิ่ง เพราะอยู่ซื่อกับวัดสารภี
ซึ่งอยู่คนหล่ายถนน ถามคนเฒ่า เปิ้นว่ามันอยู่ซื่อกัน มันเคิ่งกัน
แล้วบ้าน เคิ่ง ก็เลยเหลือเผิกเดียว เกิ่งเดียว
IP : บันทึกการเข้า
จน-จัง-กู
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 302


!! ถึงเฮาจะตุ๊ก...แต่เฮาก็บ่าเกยโกงไผ๋ !!


« ตอบ #14 เมื่อ: วันที่ 07 สิงหาคม 2011, 16:55:15 »

แล้วเวียงชัยโล้ะคับ มีคัยฮู้ผ่องก่อหา ฮืม  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า

บริการจัดทริปท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย บริการรถสองแถว รับ-ส่ง นำเที่ยว ขนของ ย้ายหอ
ราคาเป็นกันเอง บริการด้วยน้ำจิต ผูกมิตรด้วยน้ำใจ ถึงที่หมายฉับไว ปลอดภัยทุกเส้นทาง ติดต่อ 0946042117....
อ้ายหน้อยครับ
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 654



« ตอบ #15 เมื่อ: วันที่ 11 สิงหาคม 2011, 22:09:30 »

    1. เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่ "อำเภอแม่สรวย" ไม่เคยคิดที่จะขอเปลี่ยนชื่อเดิมของตัวเอง ทั้งๆ ที่คำว่า "สรวย" คำนี้มิได้มีความหมายใดๆ ทั้งสิ้น เป็นเพียงการเขียนขึ้นฟังไม่ได้ศัพท์จับไม่ได้ความของราชการเท่านั้น "อำเภอแม่ซ่วย" ตั้งขึ้นใหม่หลังจากย้ายที่ว่าการ "อำเภอแม่พริก" จังหวัดเชียงราย ไปตั้งใหม่ข้างแม่น้ำซ่วย ที่ในตำนานครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้มาใช้น้ำนี้สรงพระพักตร์ (ซ่วยหน้า = ล้างหน้า) แต่เหตุใดไม่มีการเปลี่ยนคืนทั้งๆ ที่มีความหมายชัดเจน
     2. อำเภอพญาเม็งราย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอพญามังราย
     3. อำเภอเวียงชัย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงไชย (เพราะ "ชัย" ในการเขียนภาษาล้านนาไม่ใช้ตัวนี้)
     4. อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงเชียงรุ่ง โดยมีหลักฐานศิลาจารึกชัดเจนว่าบริเวณนั้นคือ "เวียงเจียงฮุ่งน้อย" และเป็นเมืองของพระมารดาพญามังรายหลวง ซึ่งอพยพมาจากเชียงรุ่ง สิบสองปันนา "รุ่ง" หมายถึงรุ่งเรือง พุ่งขึ้นไป "รุ้ง" คิดเอาเอง และพ้องกับคำว่า "ฮุ้ง" ที่แปลว่า "นกเหยี่ยว" (ชอบกินไก่น้อย) เคยมีหนังสือคัดค้านให้ใช้ "เวียงเชียงรุ่ง" เมื่อแรกตั้งกิ่งอำเภอแล้ว แต่ทางราชการไม่ยอม จึงเป็นที่มาของความหมายที่ผิดเพี้ยนหั้น
     5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน" จนกระทั่ง กิ่งอำเภอเชียงแสนหลวง ยกฐานะเป็นอำเภอ จึงเปลี่ยน "เชียงแสนแม่จัน" เหลือแค่ "แม่จัน" เหตุผลที่ทำการย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงแสนมาตั้งที่แม่คี และกาสา นอกจากเงี้ยวเข้าปล้นที่ว่าการอำเภอเดิมแล้ว ยังเป็นผลพวงมาจากสนธิสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศสให้ถอยอพยพจากจุดแบ่งแดนน้ำของ ฝ่ายละ 30 กม. (หลักหมุดปักอยู่ที่บ้านกิ่วพร้าว ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังหาร่องรอยได้หรือไม่) จึงได้เกิดเป็นอำเภอแม่จันในปัจจุบัน


อำเภอที่เหลือคงจะพอทราบๆ กันแล้ว เอาเต้าอี้ก่อนเน้อ.
เจ้าหน้าที่บ้านเมืองนี่ก่ย๊ะหื้อยุ้งหล๋ายเตื่อ หลายหย่างเหมือนกั๋นหนา บ่ฮู้แต๊ แล้วก่บ่ไจ่ยอมฮับว่าตั๋วผิดเหี๋ยหนา
IP : บันทึกการเข้า

กรรม  ย่อมมีเหตุแห่งกรรม
yammaha
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 462



« ตอบ #16 เมื่อ: วันที่ 11 สิงหาคม 2011, 22:16:21 »

กรณี "บ้านครึ่ง" ต.ครึ่ง อ.เชียงของ สมัยก่อนเรียกว่า "บ้านเคิ่ง" ลุกเมืองน่านมา ปอมาเขียนป้ายจื่อบ้านเป็น "ครึ่ง" (เหลือกึ่งเดียวเหียแล้ว) ฯลฯ
กำว่าเคิ่ง หมายถึง ซื่อกัน ตั๊ดกัน เพราะ ที่ อ.สารภี มีวัด ช่างเคิ่ง เพราะอยู่ซื่อกับวัดสารภี
ซึ่งอยู่คนหล่ายถนน ถามคนเฒ่า เปิ้นว่ามันอยู่ซื่อกัน มันเคิ่งกัน
แล้วบ้าน เคิ่ง ก็เลยเหลือเผิกเดียว เกิ่งเดียว
ถ้าข้อมูลนี้จิง ขอบคุณมากคับ พอดีไปกับพี่ขับผ่านแถวเชียงของ ก็ยังเถึยงกันว่าทำมัยถึงตั้งชื่อว่าครึ่ง แล้วอีกครึ่งไปไหน
IP : บันทึกการเข้า
เดียวดายใต้เงาจันทร์
ข้าเดินทางเพียงลำพัง
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 170


ข้าเห่าไม่เป็น กัดลูกเดียว


« ตอบ #17 เมื่อ: วันที่ 26 สิงหาคม 2011, 10:29:31 »

    1. เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่ "อำเภอแม่สรวย" ไม่เคยคิดที่จะขอเปลี่ยนชื่อเดิมของตัวเอง ทั้งๆ ที่คำว่า "สรวย" คำนี้มิได้มีความหมายใดๆ ทั้งสิ้น เป็นเพียงการเขียนขึ้นฟังไม่ได้ศัพท์จับไม่ได้ความของราชการเท่านั้น "อำเภอแม่ซ่วย" ตั้งขึ้นใหม่หลังจากย้ายที่ว่าการ "อำเภอแม่พริก" จังหวัดเชียงราย ไปตั้งใหม่ข้างแม่น้ำซ่วย ที่ในตำนานครั้งพุทธกาลพระพุทธเจ้าได้มาใช้น้ำนี้สรงพระพักตร์ (ซ่วยหน้า = ล้างหน้า) แต่เหตุใดไม่มีการเปลี่ยนคืนทั้งๆ ที่มีความหมายชัดเจน
     2. อำเภอพญาเม็งราย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอพญามังราย
     3. อำเภอเวียงชัย ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงไชย (เพราะ "ชัย" ในการเขียนภาษาล้านนาไม่ใช้ตัวนี้)
     4. อำเภอเวียงเชียงรุ้ง ควรเปลี่ยนเป็น อำเภอเวียงเชียงรุ่ง โดยมีหลักฐานศิลาจารึกชัดเจนว่าบริเวณนั้นคือ "เวียงเจียงฮุ่งน้อย" และเป็นเมืองของพระมารดาพญามังรายหลวง ซึ่งอพยพมาจากเชียงรุ่ง สิบสองปันนา "รุ่ง" หมายถึงรุ่งเรือง พุ่งขึ้นไป "รุ้ง" คิดเอาเอง และพ้องกับคำว่า "ฮุ้ง" ที่แปลว่า "นกเหยี่ยว" (ชอบกินไก่น้อย) เคยมีหนังสือคัดค้านให้ใช้ "เวียงเชียงรุ่ง" เมื่อแรกตั้งกิ่งอำเภอแล้ว แต่ทางราชการไม่ยอม จึงเป็นที่มาของความหมายที่ผิดเพี้ยนหั้น
     5. อำเภอแม่จัน อดีตสำเนียงคนในพื้นถิ่นออกเสียงว่า "แม่แจน" สั้นๆ ห้วนๆ ที่ว่าการอำเภอแม่จัน ก็ได้ย้ายมาแล้วจากแม่คี เรียกว่า "เชียงแสนแม่คี" และย้ายมาเป็น "เชียงแสนกาสา" และภายหลังเป็น "เชียงแสนแม่จัน" จนกระทั่ง กิ่งอำเภอเชียงแสนหลวง ยกฐานะเป็นอำเภอ จึงเปลี่ยน "เชียงแสนแม่จัน" เหลือแค่ "แม่จัน" เหตุผลที่ทำการย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงแสนมาตั้งที่แม่คี และกาสา นอกจากเงี้ยวเข้าปล้นที่ว่าการอำเภอเดิมแล้ว ยังเป็นผลพวงมาจากสนธิสัญญาระหว่างสยามกับฝรั่งเศสให้ถอยอพยพจากจุดแบ่งแดนน้ำของ ฝ่ายละ 30 กม. (หลักหมุดปักอยู่ที่บ้านกิ่วพร้าว ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังหาร่องรอยได้หรือไม่) จึงได้เกิดเป็นอำเภอแม่จันในปัจจุบัน


อำเภอที่เหลือคงจะพอทราบๆ กันแล้ว เอาเต้าอี้ก่อนเน้อ.
เจ้าหน้าที่บ้านเมืองนี่ก่ย๊ะหื้อยุ้งหล๋ายเตื่อ หลายหย่างเหมือนกั๋นหนา บ่ฮู้แต๊ แล้วก่บ่ไจ่ยอมฮับว่าตั๋วผิดเหี๋ยหนา
เปิ้นฮ้องว่าเป็นการกลืนอัตลักษณ์ครับ เพื่อลดความเข้มข้นของชนพื้นเมิงเอ้ย เมือง อย่างรุ่นหลังๆ มานี้ ละอ่อนคนใดผ่องที่ฮ้อง พ่อขุนเม็งราย เป็นพญามังรายผ่อง น้อยครับ น่าเสียดายอยู่หนา ^^"
IP : บันทึกการเข้า


C#.NET/ASP.NET Developer
jamesmy
เตรียมอนุบาล
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 68



« ตอบ #18 เมื่อ: วันที่ 19 กันยายน 2011, 10:38:03 »

ขุนตาล โหล๊ะครับมีไผ่ฮู้ผ่อง
IP : บันทึกการเข้า
ny zom
ซม ขี้เมี้ยง
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 117


« ตอบ #19 เมื่อ: วันที่ 22 กันยายน 2011, 00:08:08 »

อ.เทิงละครับ มาจากคำว่าหยัง ผมอยากฮู้เหมือนกัน

 เทิง หมายถึงตี่สูง เช่น ของอยู่บน เทิงฮั้น   และตาง อ.เทิง มันเป็นตี่สูง เปิ่นจึงฮ้องว่าเทิง ถูก กาบ่าถูก บ่าฮู้หนา แฮ่ๆๆๆ
IP : บันทึกการเข้า
หน้า: [1] 2 3 4 พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!