|
|
|
|
ⒷⒼ*
แฟนพันธ์แท้

ออฟไลน์
กระทู้: 9,368
นิพพานคือนิรันดร์
|
 |
« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 14:01:51 » |
|
รูปแรก Heaven a Taoist temple ปักกิ่งครับ รูปสองกะสาม จะให้บอกรูปแบบไหนครับ 
|
|
|
|
|
ⒷⒼ*
แฟนพันธ์แท้

ออฟไลน์
กระทู้: 9,368
นิพพานคือนิรันดร์
|
 |
« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 14:22:44 » |
|
ยากมากเลยนะครับ ท่าน +.*^~ฮักแม่จัน~^*.+  ภาพที่ 2 เห็นแต่พระพักตร์ ถาพที่ 3 ไม่เคยเห็นมาก่อน ไม่ค่อยชัดด้วย  รอผู้รู้มาช่วยด้วยครับ
|
|
|
|
|
|
|
ttyy
ระดับ ป.ตรี
  
ออฟไลน์
กระทู้: 1,953

ซ่อม/ซื้อ/ขาย มือถือทุกรุ่น
|
 |
« ตอบ #10 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 18:51:08 » |
|
นี่เป็นอารยธรรมจีน อยากรู้ว่าคือที่ไหนครับ ช่วยทีนะครับ ขอบคุณครับ
อันนี้รูปหอฟ้า เทียนถาน ครับ ชื่อภาษาอังกฤษ ก็คือ Temple of Heaven ครับ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ ของกรุงปักกิ่ง ในอดีต เป็นที่ ที่ ฮ่องเต้ จะไปทำการบวงสรวงเทพยดาฟ้าดินครับ ด้านในของตำหนัก จะเก็บแผ่นป้าย ชื่อ เทพเจ้าผู้ปกครองสวรรค์ ไว้ครับ (ผิดถูกประการใดขออภัยครับ)
|
รับซื้อ-ขาย-ฝาก-ขายฝากคอมพิวเตอร์ PC Notebook โทรศัพท์มือถือ nokia iPhone samsung ทีวี LCD เครื่องเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดราคาสูง รุ่นเก่า รุ่นใหม่ โทรมาคุยกันได้ครับ
|
|
|
|
|
|
|
۰•ฮักแม่จัน©®
เลวบ้างในบางเวลา
ผู้ดูแลบอร์ด
แฟนพันธ์แท้

ออฟไลน์
กระทู้: 7,050

"มารบ่มี บารมี บ่เกิด.."
|
 |
« ตอบ #15 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 20:03:03 » |
|
นี่เป็นอารยธรรมจีน อยากรู้ว่าคือที่ไหนครับ ช่วยทีนะครับ ขอบคุณครับ
อันนี้รูปหอฟ้า เทียนถาน ครับ ชื่อภาษาอังกฤษ ก็คือ Temple of Heaven ครับ ตั้งอยู่ทางตอนใต้ ของกรุงปักกิ่ง ในอดีต เป็นที่ ที่ ฮ่องเต้ จะไปทำการบวงสรวงเทพยดาฟ้าดินครับ ด้านในของตำหนัก จะเก็บแผ่นป้าย ชื่อ เทพเจ้าผู้ปกครองสวรรค์ ไว้ครับ (ผิดถูกประการใดขออภัยครับ) รูปที่ 2 และ 3 กำลังจะไปถามผู้เชียวชาญให้ ปรากฏหลับไปซะละ เดี๋ยวตื่นมาจะถามให้อีกทีนะครับ
ขอบคุณมากๆครับ
|
"ทำบุญเท่าไรก็ไม่สามารถลบล้างบาปได้ บุญอยู่ส่วนบุญ บาปอยู่ส่วนบาป"
ไม่มีใครหรอกที่จะเลวโดยสันดาน .. หากแต่สถานการณ์มันบีบบังคับให้ทำ
|
|
|
۰•ฮักแม่จัน©®
เลวบ้างในบางเวลา
ผู้ดูแลบอร์ด
แฟนพันธ์แท้

ออฟไลน์
กระทู้: 7,050

"มารบ่มี บารมี บ่เกิด.."
|
 |
« ตอบ #16 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 20:03:35 » |
|
ไม่แน่ใจนะครับ ว่าจะเป็น พระพุทธรูปสลักหินศิลปะสมัยคันธาระ(พุทธศตวรรษที่7) คือศิลปะกรีกในอินเดีย หรือเปล่า ดูในรูปคล้ายๆนะ    ศิลปะคันธาระ เป็นศิลปะกรีกที่แผ่มาในอินเดีย ขอบคุณมากๆครับ ว่าแต่ อันนี่เหมือนรูปที่ 2 แม่นก่อครับ
|
"ทำบุญเท่าไรก็ไม่สามารถลบล้างบาปได้ บุญอยู่ส่วนบุญ บาปอยู่ส่วนบาป"
ไม่มีใครหรอกที่จะเลวโดยสันดาน .. หากแต่สถานการณ์มันบีบบังคับให้ทำ
|
|
|
เชียงรายพันธุ์แท้
ระดับ ป.ตรี
  
ออฟไลน์
กระทู้: 2,024

|
 |
« ตอบ #17 เมื่อ: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 20:11:51 » |
|
รูป 1 หอบูชาฟ้า (เทียนถาน) รูป 2 และ 3 พระพุทธรูปศิลปะคันธาระ (อัฟกานิสถานและปากีสถานในปัจจุบัน)จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เก่าแก่ที่สุด ที่เป็นหลักฐานทางโบราณคดี เกี่ยวกับการสร้างรูปเคารพ ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น มีการทำเหรียญทองคำ เป็นรูปพระพุทธเจ้าประทับยืนมีอักษร Bactrian สลักคำว่า "Boddo" ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยของพระเจ้ากนิษกะ ซึ่งอาจเป็นการเริ่มต้นสู่การพัฒนาเป็นภาพจำหลักหิน เล่าเรื่องพุทธประวัติ และพัฒนาจนเป็นพระพุทธรูปขึ้น เมื่อพุทธฝ่ายมหายานเจริญรุ่งเรืองต่อมา ในครั้งนั้น การสร้างรูปพระพุทธประวัติแบบนูนต่ำและนูนสูงที่นิยมกัน จะมุ่งเน้นให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธา หรือถ่ายทอดพุทธจริยาวัตรมากกว่าที่จะสร้างขึ้นเพื่อเป็นรูปเคารพ การสร้างรูปพระพุทธองค์ (ที่เป็นรูปมนุษย์) เกิดขึ้นครั้งแรก โดยฝีมือของช่างแคว้นคันธารราฐ เกิดขึ้นเมื่อราว พ.ศ.370 ที่ได้รับอิทธิพลจากกรีกและโรมัน เพราะเคยอยู่ภายใต้การปกครองของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ ซึ่งเคยกรีฑาทัพมา ตั้งแต่ในราว 200 ปีก่อนคริสตกาล ชาวกรีกได้ถือรูปแบบเคารพเดิมที่เป็นเทพเจ้าของตนที่เคยทำมา และประดิษฐ์สร้างพระพุทธรูปขึ้น เมื่อหันมานับถือศาสนาพุทธ การสร้างพระพุทธรูปที่นี่จึงเป็นการผสมผสานระหว่างกรีกโรมัน (อิทธิพล Grego-Roman) และอินเดียโบราณ ที่สัมพันธ์กับมหาปุริสลักษณะ 32 ประการ ของพระพุทธเจ้า อย่างลงตัว พระพุทธรูปคันธาระจึงได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่ามีพุทธศิลปงามที่สุด และเก่าแก่ที่สุด มีอายุราว 2,000 ปี จนได้รับความนิยมเป็นสากลจากนักสะสมและพิพิธภัณฑ์นานาชาติ ครั้นเมื่อพระเจ้าอโศกมหาราชโปรดให้มีการสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 3 ขึ้นแล้วเสร็จ ทรงโปรดให้สร้างศาสนสถานศึกษาขึ้นหลายแห่ง เพื่อศึกษาพระศาสนา แต่ยังคงไม่นิยมการสร้างรูปพระพุทธเจ้าเป็นรูปเคารพ ทำแต่รูปอย่างอื่นเป็นเพียงสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า ดังเข่นที่ปรากฏอยู่ที่สถูปสาญจิ มีการสร้างรูปเคารพจากรากฐานของวัฒนธรรมอินเดีย เช่น รอยพระพุทธบาทซึ่งแสดงถึงการเคารพอย่างสูงสุด เปรียบเทียบกับพระมหากษัตริย์ หรือการสร้างต้นโพธิ์เป็นสัญลักษณ์แทนการตรัสรู้ เป็นต้น วัฒนธรรมการสร้างพระพุทธรูป เพื่อเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจในทางรูปธรรมนั้น เริ่มแรกในช่วงก่อนสมัยคริสต์กาลเล็กน้อย โดยพระเจ้ามิลินท์ (Menander) กษัตริย์อินเดียเชื้อสายกรีกแห่งนครสาคละ แคว้นคันธารราฐ อาณาจักรบัคเตรีย (บริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของปากีสถานและตะวันออกของอัฟกานิสถานในปัจจุบัน ซึ่งเป็นประเทศอินเดียในอดีต)พระเจ้ามิลินท์ ทรงเลื่อมใสพระพุทธศาสนาและทำนุบำรุงให้รุ่งเรืองอย่างมาก หลังการล่มสลายของวงศ์เมาริยะ เริ่มมีการสร้างพระพุทธรูป จำหลักหินขึ้นอย่างมากมาย เป็นศิลปกรรมแบบกรีกผสมอินเดีย เรียกตามเมืองที่ตั้งว่า ศิลปคันธารราฐ (อิทธิพล Grego-Roman) ท่านได้ทรงสร้างพระพุทธรูปและพระโพธิสัตว์ขึ้นมามากมาย ส่วนใหญ่สลักจากหินเทาอมเขียว (Schist stone) โดยยึดรูปแบบศิลปกรีกและเฮเลนนิค ซึ่งมีความสวยงามไม่แพ้ศิลปะใดๆ ในยุคหลังต่อมาจึงได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 4 จนถึงพุทธศตวรรษที่ 13 ที่มีอิทธิพลต่อศิลปของมถุราในแคว้นอุตรประเทศ (อินเดีย) พระพุทธรูปที่มีชื่อเสียงและมีเรื่องราวเกิดขึ้นมากมาย ที่สร้างในยุคนี้คือ พระพุทธรูปยืนแห่งบามิยัน ซึ่งถูกทำลายลง พร้อมๆกับพระพุทธรูปอีกเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน โดยรัฐบาลตาลีบันของอัฟกานิสถานพระพุทธรูปสมัยคันธาระ มีการสร้างหลายปาง ที่นิยมกัน เช่น ปางสมาธิ ปางปฐมเทศนา ปางประทานพร ปางมหาปาฏิหาริย์ ปางลีลา (หมายถึงตอนที่เสด็จลงจากดาวดึงส์) และปางทุกรกิริยา ส่วนปางอื่นๆ ในตำราบางเล่มจะมีมากกว่านี้ ลักษณะสำคัญทางศิลป์ของพระคันธาระคือ พระพักตร์คล้ายเทพอพอลโล มีเส้นพระเกศาหยิกสลวย (ยังไม่เป็นก้นหอยเหมือนในยุคหลัง) มีรัศมี (Halo) อยู่หลังพระเศียร ตามความเชื่อของกรีกที่ทำรูปปั้นเทพต่างๆ ห่มผ้าคลุมแบบริ้วธรรมชาติ มีอุณาโลมระหว่างคิ้ว มีอุษณีษะศีรษะ (มวยผมโป่งตอนบน) พระกรรณยาว พระพุทธรูปคันธารราฐ มีทั้งที่ทำด้วยปูนปั้น (Stucco) หินเขียว และหินดำ (Schist)เครดิตบทความ http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=travelaround&date=16-07-2009&group=21&gblog=10เครดิตภาพ http://fog.ccsf.cc.ca.us/~jcarpent/sl01core.htm
|

Buddha_triad_Gandhara.jpg (74.45 KB, 723x761 - ดู 1200 ครั้ง.)
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 20 สิงหาคม 2010, 20:50:40 โดย เชียงรายพันธุ์แท้ »
|
IP :
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|