12 เหรียญครุฑ 2517 คัดสวย เลี่ยมตลับทองไมค่อน พร้อมใช้งาน ราคา 280 ส่ง EMS 50
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเงินเต็มครับ

13 เหรียญครุฑ 2517 คัดสวย เลี่ยมตลับทองไมค่อน พร้อมใช้งาน ราคา 280 ส่ง EMS 50
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเงินเต็มครับ

14 เหรียญครุฑ 2517 คัดสวย เลี่ยมตลับทองไมค่อน พร้อมใช้งาน ราคา 280 ส่ง EMS 50
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเงินเต็มครับ

15 เงินพดด้วง เงินแท้ 1 บาท สมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3 อายุ 195 ปี ราคา 1850 บาท ส่ง EMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊คืนเงินเติมครับ
รัชกาลที่3 ใช้ตราพระมหาปราสาทเป็นตราประจำรัชกาลมีความหมายมาจากพระนามเดิมของพระองค์ คือ “ทับ” ซึ่งหมายถึงที่ประทับของพระมหากษัตริย์ คือ ปราสาท นั่นเอง นอกจากนั้นยังมีการเริ่มผลิตพดด้วงเพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสสำคัญต่าง ๆ เช่น พดด้วงตราครุฑเสี้ยว ตราเฉลว ตราดอกไม้ และตราใบมะตูม เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีการผลิตเงินพดด้วงที่ระลึกขึ้นหลายครั้ง เงินพดด้วงดังกล่าวมีอยู่หลายตราด้วยกันเช่น ครุฑเสี้ยว ตราหัวลูกศร.ฯลฯ



16 เงินพดด้วง เงินแท้ 1 บาท สมัยธนบุรี อายุ 250 ปี ราคา 2700 บาท ส่ง EMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊คืนเงินเติมครับ
เงินตราที่ใช้ในช่วงต้นรัชกาลยังคงใช้พดด้วงของอยุธยาอยู่ระยะหนึ่ง ต่อมาได้ผลิตพดด้วงประจำรัชกาลออกใช้ มีลักษณะเช่นเดียวกับพดด้วงสมัยอยุธยาตอนปลาย ประทับตราพระแสงจักรเป็นตราประจำแผ่นดิน ส่วนตราประจำรัชกาลนั้นใช้ ตราตรีศูล และตราทวิวุธ


17 เหรียญ 3 รอบ เนื้ออัลปาก้า สวยคลาสสิกครับ ตัวหนังสือคมชัด ราคา 790 บาท ส่งEMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเต็มครับ
เหรียญในหลวง 3 รอบ ปี ๒๕๐๖ อนุสรณ์มหาราช. เนื้ออัลปาก้า
เหรียญอนุสรณ์มหาราช รัชกาลที่ ๙ เฉลิมพระชนม์พรรษาครบ ๓ รอบ ปี ๒๕๐๖ เหรียญอนุสรณ์มหาราชรัชการที่ 9 ครบ 3 รอบ ปี 2506 หรือที่คนชอบเรียกว่า เหรียญเสมา 3 รอบ รัชกาลที่ 9 เหรียญนี้เป็นเหรียญที่ระลึก ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระชนมายุครบ 3 รอบเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2506 เป็นเหรียญที่ได้ผ่านพิธีการปลุกเสกอย่างยิ่งใหญ่ ณ อุโบสถวัดราชบพิธ ถึง 2 วาระด้วยกัน โดยพระคณาจารย์ที่โด่งดังในยุคนั้น เช่น
-อาจารย์ทิม วัดช้างไห้
-หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม
-หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม
-พ่อท่านคล้าย วาจาสิทธิ์
-หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก
-พระสุนทรศีลสมาจาร (หลวงพ่อผล) วัดหนัง
-หลวงพ่อทบ วัดสว่างอรุณ ชนแดนฯลฯ
พิธีปลุกเสกใหญ่ ณ อุโบสถวัดราชบพิธ 2 วาระด้วยกันคือ 1. ครั้งแรกวันที่ 29-30 พ.ย.2506
2. ระหว่างวันที่ 5-6-7 เมษายน 2507
พิธีครั้งที่ 1
-รายนามพระคณาจารย์ที่มาปลุกเสก วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2506 ณ พระอุโบสถวัดราชบพิธ
1. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อยุธยา
2. หลวงพ่อพระครูโพธิสารประสาธน์ วัดโพธิสัมพันธ์ บางละมุง ชลบุรี
3. หลวงพ่อพระวรพจรน์ปัญญาจารย์ วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
4. หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน แม่ทะ ลำปาง
5. หลวงพ่อพระราชหระสิทธิคุณ วัดราชธานี สุโขทัย
6. หลวงพ่อเงิน (พระราชธรรมาภรณ์ )วัดดอนยายหอม นครปฐม
7. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม
8. พ่อท่านคล้าย วัดสวนขวัญ ฉวาง นครศรีธรรมราช
9. พระครูวิสัยโสภณ (อาจารย์ทิม) วัดช้างไห้ ปัตตานี
พิธีครั้งที่ 2
-รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่ 5 เมษายน 2507
1. พระสุเมธมุนี เจ้าคณะวัดบางหลวง ปทุมธานี
2. พระสุนทรศีลสมาจาร (หลวงพ่อผล) วัดหนัง ธนบุรี
3. พระครูปลัดบุญรอด วัดประดู่พัฒนาราม นครศรีธรรมราช
4. หลวงพ่อทบ วัดสว่างอรุณ ชนแดน เพชรบูรณ์
5. พระครูนนทกิจวิมล ( หลวงพ่อชื่น) วัดตำหนักเหนือ นนทบุรี
6. หลวงพ่อบัว วัดป่าบ้านตาด อุดรธานี
7. พระครูพุทธมนต์วราจารย์ (พระปลัดสุพจน์) วัดสุทัศน์ พระนคร
8. พระครูบวรธรรมกิจ (หลวงปู่เทียน) วัดโบสถ์เชียงราก ปทุมธานี
9. หลวงพ่อหอม วัดขากหมาก ระยอง -รายนามพระคณาจารย์ที่ปลุกเสกวันที่
6 เมษายน 2507 มีดังนี้
1. พระครูพิทักษ์วิการกิจ (หลวงพ่อสา) วัดราชนัดดา พระนคร
2. พระครูสถาพรพุทธมนต์(หลวงพ่อสำเนียง) วัดเวฬุวนาราม บางเลน นครปฐม
3. พระครูธรรมิตรนุรักษ์ วัดเขาหลัก ท่าศาลา นครศรีธรรมราช
4. พระครูรักขิตวันมุนี (หลวงพ่อถีร์) วัดป่าเลไลย์ สุพรรณบุรี
5. พระเทพสังวรวิมล (หลวงพ่อเจียง) วัดเจริญสุขาราม สมุทรสงคราม
6. หลวงพ่อสำเภา วัดหงส์รัตนาราม บางกอกใหญ่ ธนบุรี
7. พระครูบาวัง วัดบ้านเด่น จ.ตาก
8. พระมุจรินทร์โมลี (หลวงปู่ดำ) วัดมุจรินทร์ หนองจิก ปัตตานี
-รายนามพระคณาจารย์ที่อาราถนามาปลุกเสกวันที่ 7 เมษายน 2507
1. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก บางไทร อยุธยา
2. พระครูโพธิสารประสาธน์ (อาจารย์บุญมี) วัดโพธิสัมพันธ์ ชลบุรี
3. พระวราพจน์ปัญญาจารย์ (หลวงพ่อวัดป่า) วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
4. หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน แม่ทะ ลำปาง
5. พระราชประสิทธิคุณ (หลวงพ่อทิม) วัดราชธานี สุโขทัย
6. พระราชธรรมาภรณ์ (หลวงพ่อเงิน) วัดดอนยายหอม นครปฐม
7. หลวงพ่อเต๋ วัดสามง่าม นครปฐม
8. พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อเมี้ยน) วัดพระเชตุพน พระนคร
9. พระครูวิสัยโสภณ (อาจารย์ทิม) วัดช้างไห้ โคกโพธิ์ ปัตตานี
นอกจากนี้ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี(สมเด็จย่า) ยังได้นำเหรียญมหาราชนี้ส่วนหนึ่งพระราชทานแก่ ตำรวจตระเวนชายแดนและคณะแพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ใน พอ.สว.(แพทย์อาสาสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์) โดยด้านหลังเหรียญจะตอกอักษรพระปรมาภิไธยย่อว่า "สว"ไว้ด้วย ส่วนใหญ่จะอยู่ทางขวามือด้านหลัง
เหรียญที่สมเด็จย่า นำไปพระราชทานนี้ ได้ผ่านการอธิษฐานจิตจากพระอาจารย์ฝั้น อาจาโร แห่งวัดอุดมสมพร อีกครั้งหนึ่ง ทำให้การเล่นหาแพงกว่าเหรียญที่ไม่มีคำว่า "สว"
เหรียญอนุสรณ์มหาราชนี้ ได้ผ่านพิธีพุทธาภิเษกมาแล้วที่วัดพระศรีศาสดาราม(วัดพระแก้ว)จากพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ทำให้เหรียญมหาราชนี้ ปรากฏกฤษดาภินิหารด้านแคล้วคลาดจากภยันตรายอยู่เสมอๆจนเป็นที่กล่าวขวัญทั่วไป


18 เหรียญ 3 รอบ เนื้ออัลปาก้าพร้อมตุ้งติ้ง นิยมสุด สวยคลาสสิกครับ ตัวหนังสือคมชัด ราคา 1390 บาท ส่งEMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเต็มครับ


19 เหรียญเนื้อเงินแท้ ปี 2484 อายุ 78 ปี สภาพสวยๆ ครับ ราคาตามภาพ ในชุดจะมี 2 เหรียญครับ ค่าส่ง EMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเต็มครับ

20 เหรียญเนื้อเงินแท้ ปี 2484 อายุ 78 ปี สภาพสวยๆ ครับ ราคาตามภาพ ในชุดจะมี 2 เหรียญครับ ค่าส่ง EMS 50 บาท
รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊ คืนเต็มครับ

[/quote]
21 เหรียญคุ้มเกล้าเนื้อเงินเล็ก สร้างน้อย ประมาณ 5000 เหรียญ ราคา 8900 บาท ค่าส่ง EMS 50 บาท
สภาพสวยๆ ไม่ผ่านการใช้งาน รับประกันแท้ หากเช็คแล้วเก๊คืนเงินเต็มจำนวนครับ
เหรียญคุ้มเกล้า ในหลวงรัชกาลที่๙ เนื้อเงิน(พิมพ์เล็ก/หายาก...) จำนวนสร้างน้อย... ประมาณ 5000 เหรียญ
ของดี/พิธีใหญ่ สภาพสวยมาก ของเก็บเก่าซองเดิมๆ รับประกันแท้
(เนื้อเงิน พิมพ์เล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.6 ซม.) ขนาดกระทัดรัด
พิธีใหญ่ในหลวงเททอง หลวงปู่โต๊ะ หลวงปู่ดุลย์ หลวงปู่แหวน ร่วมปลุกเสกและเกจิที่มีชื่อเสียงอีกมากมาย
เหรียญคุ้มเกล้า โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช ดำเนินการจัดสร้างเมื่อปีพ.ศ.2522 โดยมูลนิธิมูลนิธิคุ้มเกล้าฯในพระบรมราชูปถัมภ์
วัตถุประสงค์ :
เนื่องในวาระครบรอบ 30 ปีของการให้บริการโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช เมื่อ 27 มีนาคม 2522 กองทัพอากาศได้ดำริสร้างอาคารอุบัติเหตุและฉุกเฉินขนาดใหญ่สูง 12 ชั้นที่ทันสมัย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเป็นพระราชกุศลและเสริมสร้างบารมีปกเกล้าปกกระหม่อมบรรดาผู้ป่วยทั้งหลายไปชั่วกาลนาน โดยสิ้นค่าใช้จ่ายกว่า 600 ล้านบาท จากเงินที่ประชาชนทั่วประเทศร่วมใจกันบริจาค
พุทธลักษณะ
ด้านหน้า : เป็นพระบรมฉายาลักษณ์
ด้านหลัง : มีพระปรมาภิไธยย่อ ภ.ป.ร.
พิธีลงอักขระแผ่นยันต์อักขระที่ใช้สร้าง เหรียญคุ้มเกล้า&
แผ่นแรกเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2526 โดยมี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นประธาน พร้อมด้วยพระเถระอีก 60รูป ที่ได้มาร่วมสวดเจริญพระพุทธมนต์ในวันเฉลิมพระชนมพรรษาของสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ภายในพระอุโบสถของวัดราชบพิธ
หลังจากนั้นได้นำแผ่น ทอง นาก เงิน ไปให้พระเถราจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทั่วประเทศ จารึกอักขระจนครบ 1,250 รูป อาทิ
- พระราชวุฒาจารย์(หลวงปู่ดุลย์)วัดบูรพาราม จ.สุรินทร์ ลงอักขระวันที่ 16 กันยายน 2526
- พระคุณเจ้าหลวงปู่แหวน สุจิณโณ ลงอักขระแผ่นทอง นาก เงิน ณ วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่ 19 สิงหาคม 2526
- พระสุพรหมยานเถร (หลวงปู่พรหมจักร)วักพระพุทธบาทตากผ้า ลำพูน ลงอักขระ 21 สิงหาคม 2526
- พระอุดมสังวรเถร(หลวงพ่ออุตตมะ)วัดวังวิเวการาม จ.กาญจนบุรี ลงอักขระ 5 ตุลาคม 2526
- พระสุนทรธรรมภาณี(หลวงพ่อแพ)วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี ลงอักขระวันที่ 3 ตุลาคม 2526
- พระนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาจารย์ (หลวงปู่เทสก์) วัดหินหมากเป้ง อ.ศรีเชียงใหม่ จ.หนองคาย ลงอักขระ 5 สิงหาคม 2526
- หลวงพ่อเกษม เขมโก วัดป่าช้าไตรรัตนาราม อ.เมือง จ.ลำปาง ลงอักขระ 22สิงหาคม 2526
- พระครูสุวรรณประดิษฐการ(หลวงพ่อจ้อย)วัดเขาสุวรรณประดิษฐ์ อ.ดอนสัก จ.สุราษฏร์ธานี ลงอักขระ 11 ตุลาคม 2526
- สมเด็จพระญาณสังวร วัดบวรนิเวศวิหาร กทม. เป็นต้น
พิธีเททองหล่อ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถเสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไปทรงเททองหล่อพระพุทธรูปคุ้มเกล้าฯ ณ วัดดอยแม่ปั๋ง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ซึ่งตรงกับวันที่ ′หลวงปู่แหวน สุจิณโณ′ มีอายุครบ 97 ปี เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2527 โดยมีสมเด็จพระสังฆราช พร้อมด้วยพระเถระผู้ใหญ่ผู้ทรงคุณอีก 9 รูป เจริญชัยมงคลคาถา ในโอกาสนี้ได้ทรงทำพิธีหลอมแผ่นทอง นาก เงิน ที่ได้ทำพิธีลงอักขระแล้ว เป็นชนวนนำไปสร้างวัตถุมงคลคุ้มเกล้าต่อไป
พิธีพุทธาภิเษก
ประกอบพิธีพุทธาภิเษกหมู่อย่างยิ่งใหญ่มโหฬาร 4 วัน 4 คืน ตั้งแต่วันที่ 6-9 เมษายน พ.ศ.2527 โดยทำการโยงสายสิญจน์จากพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามมายังปะรำพิธี ณ ท้องสนามหลวง นิมนต์พระเถรานุเถระผู้ทรงคุณ เกจิอาจารย์ดัง 108 รูปจากทั่วประเทศผลัดเปลี่ยนกันนั่งปรกปลุกเสกตลอดรวม 4 คืน อาทิ
- สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ประธานฝ่ายสงฆ์จุดเทียนชัย
- สมเด็จพระญาณสังวรฯ เป็นประธานดับเทียนชัย
- หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง
- หลวงพ่อเกษม เขมโก ลำปาง
- หลวงปู่สาม วัดป่าไตรวิเวก
- หลวงพ่อสิม วัดถ้ำผาปล่อง
- หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี
- หลวงพ่ออุตตมะ วัดวังก์วิเวการาม
- หลวงพ่อหลุย วัดเจติยาวิหาร
- หลวงปู่ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า
- หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
- หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
- หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่
- หลวงพ่อพวง วัดศรีธรรมาราม
- หลวงพ่อพุฒ วัดมณีสถิตย์
- หลวงพ่อเปรื่อง วัดบางคลาน
- หลวงพ่อฮวด วัดหัวถนนใต้
- หลวงพ่อคำแสน วัดถ้ำผาเงา
- หลวงพ่อโอด วัดจันเสน
- หลวงพ่อบุญมี วัดท่าสะต๋อย เป็นต้น
สำหรับวัตถุมงคลรุ่นคุ้มเกล้า ในวันแรกของพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จฯ ไปทรงจุดไฟพระฤกษ์ ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มอบให้พล.อ.อ.ประพันธ์ ธูปะเตมีย์ ผบ.ทอ. อัญเชิญเข้าขบวนแห่มายังปะรำพิธี จากนั้นในเวลา 19.19 น. สมเด็จพระสังฆราช เสด็จมาจุดเทียนชัยจากไฟพระฤกษ์ เริ่มพิธีพุทธาภิเษกจนถึงรุ่งอรุณของวันที่ 4 สมเด็จพระญาณสังวรฯ เป็นประธานดับเทียนชัย เป็นอันเสร็จสิ้นพิธีพุทธาภิเษก
“เหรียญคุ้มเกล้า" หรือ มงคลวัตถุชุดคุ้มเกล้าโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช
หากจะหาเหรียญพระบรมรูปรัชกาลที่ ๙ ที่น่าบูชาติดตัวที่สุด ที่ดีเยี่ยมทั้ง เจตนาการสร้าง มวลสาร พิธี และ การพุทธาภิเษก แล้ว อันดับต้นๆ น่าจะเป็นเหรียญคุ้มเกล้า ที่สร้างเพื่อสมนาคุณผู้บริจาคสร้าง อาคารคุ้มเกล้า โรงพยาบาลภูมิพล เพราะว่า
หนึ่ง ....เจตนาในการสร้างดีมาก เพราะเงินที่ได้นำมาสร้างอาคารโรงพยาบาลภูมิพล
สอง.....พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้อัญเชิญพระปรมาภิไธยย่อ“ภ.ป.ร.” ประดิษฐานที่ผ้าทิพย์ของพระพุทธรูปบูชา และพระกริ่ง และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้สร้างเหรียญพระบรมรูป ด้านหน้ามีพระบรมฉายาลักษณ์ และด้านหลังมีพระปรมาภิไธยย่อ “ภ.ป.ร.” โดยโปรดเกล้าฯให้ช่างในพระองค์เป็นผู้ปั้นแบบ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงรับเป็นองค์ประธานอุปถัมภ์ในการดำเนินงานฝ่ายบรรพชิต สาม...พิธีการลงอักขระแผ่นทองนาก เงิน แผ่นยันต์อักขระที่ใช้สร้าง ได้จัดพิธีลงอักขระ ณ. วัดราชบพิธ โดยสมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช ทรงเป็นองค์ประธานพร้อมด้วย สมเด็จพระราชาคณะและพระเถระผู้ใหญ่รวม ๖๐รูป ทำพิธีลงอักขระแผ่น ทอง นาก เงิน เป็นปฐมฤกษ์ หลังจากนั้นได้นำแผ่น ทอง นาก เงิน ไปให้พระเถราจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิทั่วประเทศ จารึกอักขระจนครบ ๑,๒๕๐ รูป... นับว่าเป็นพิธีที่มีการลงแผ่นทองมากที่สุดในประเทศไทยก็ว่าได้ เกจิอาจารย์ที่สำคัญทั้งหมดในประเทศไทยขณะลงแผ่นทองมาทั้งหมด
สาม.....พิธีเททองหล่อพระรูป ตอนการเททอง ซึ่งพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พร้อมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เสด็จไปทรงเททองถึงวัดดอยแม่ปั๋ง จ. เชียงใหม่ ในงานครบรอบ ๙๗ พรรษา โดยมีสมเด็จพระสังฆราช และพระเถระผู้ใหญ่ผู้ทรงคุณวุฒิอีก ๙ รูป เจริญชัยมงคลคาถา
สี่...พิธีพุทธาภิเษก พิธีพุทธาภิเษก พิธีปลุกเสกหมู่ใหญ่สนามหลวง ๔ วัน ๔ คืน โดยโยงสายสิญจน์จากพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามมายังปะรำพิธี ณ.ท้องสนามหลวง นิมนต์พระเถรานุเถระผู้ทรงคุณ เกจิย์ดัง ๑๐๘อาจารย์ จากทั่วประเทศผลัดเปลี่ยนกันนั่งปรกปลุกเสกตลอดรวม๔คืน โดยในวันแรกของพิธี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว(ร.๙) ทรงเสด็จจุดไฟพระฤกษ์ ณ.พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม มอบให้พลอากาศเอก ประพันธ์ ธูปเตมีย์ ผู้บัญชาการทหารอากาศอัญเชิญเข้าขบวนแห่มายังปะรำพิธ ี จากนั้นในเวลา ๑๙.๑๙ น. สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราชฯ ได้เสด็จมาจุดเทียนชัยจากไฟพระฤกษ์ เริ่มพิธีพุทธาภิเษกจนถึงรุ่งอรุณของวันที่๔ จึงได้อัญเชิญสมเด็จพระญาณสังวรดับเทียนชัยเป็นอันเส ร็จสิ้นพิธีพุทธาภิเษก นับเป็นพิธีพุทธาภิเษกที่ยิ่งใหญ่เป็นประวัติการณ์…
เหรียญนี้มีลักษณะทรงกลม ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.6 c.m. เนื้อเงิน ด้านหน้าพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ด้านหลังเป็นพระปรมาภิไธยย่อ"ภ.ป.ร."
คณาจารย์ เช่น หลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง , หลวงพ่อเกษม เขมโก ลำปาง , หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพา สุรินทร์ , หลวงพ่อสิม วัดถ้ำผาปล่อง , หลวงพ่อบุญมี วัดท่าสะต๋อย , ครูบาพรหมจักร วัดพระพุทธบาทตากผ้า , หลวงพ่อคำแสน วัดถ้ำผาเงา , หลวงพ่อฮวด วัดหัวถนนใต้ , หลวงพ่อเปรื่อง วัดบางคลาน , หลวงพ่อหลุย วัดเจติยาวิหาร , หลวงพ่อพวง วัดศรีธรรมาราม ยโสธร , หลวงพ่อคูณ วัดบ้านไร่ , หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน , หลวงปู่สาม วัดป่าไตรวิเวก , หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง , หลวงพ่อโอด วัดจันเสน , หลวงพ่อพุฒ วัดมณีสถิตย์ อุทัยธานี , อีกมากมายคณา
