เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 28 เมษายน 2024, 19:46:50
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  การเกษตร,ฟาร์มสัตว์,ปศุสัตว์ (ผู้ดูแล: bm farm)
| | |-+  ปลาหมอแปลงเพศ สนใจต้องการพันธุ์ปลา วัฒนา 0904248297 0929415503
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: 1 ... 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 [14] 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 ... 44 พิมพ์
ผู้เขียน ปลาหมอแปลงเพศ สนใจต้องการพันธุ์ปลา วัฒนา 0904248297 0929415503  (อ่าน 125554 ครั้ง)
Ck 401
"....เมื่อเห็นทุกสิ่งเป็นธรรมดา ก็ไม่มีอะไรมาทำให้ทุกข์ได้อีก...."
แฟนพันธ์แท้
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,267


...งานหนักไม่เคยฆ่าคน...


« ตอบ #260 เมื่อ: วันที่ 15 เมษายน 2014, 18:29:55 »

ปลาหมอไทย พันธุ์ชุมพร 1
ใกล้ จน่าน มีที่ไหนขายลูกบ้างครับ
ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม

IP : บันทึกการเข้า

"....คณะเรา ไม่ยอมให้ด้อยถอยลง ต่ำเราต้องค้ำชูให้สูงจรุงศรี....."
....เมื่อเห็นทุกสิ่งเป็นธรรมดา  ก็ไม่มีอะไรมาทำให้ทุกข์ได้อีก...."
koyjang
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 132


« ตอบ #261 เมื่อ: วันที่ 15 เมษายน 2014, 21:42:05 »

อยากทราบว่า   สามารถเลี้ยงปลาหมอเทศ ร่วมกับ ปลานิลหมัน หรือ ปลาทับทิม ได้ไหมคะ  บ่อเป็นบ่อดินค่ะ   ยังมีวัชพืชอยู่ตามขอบบ่อ  ซี่งสามารถเป็นอาหารของปลาได้อยู่เป็นปีค่ะ ขนาดของบ่อน่าจะประมาณ 1 ไร่กว่า ๆ  ขุดบ่อตามสภาพของพื้นที่  ซึ่งไม่ได้เป็นลักษณะสี่เหลี่ยมค่ะ
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #262 เมื่อ: วันที่ 16 เมษายน 2014, 08:53:16 »

ปลาหมอไทย พันธุ์ชุมพร 1
ใกล้ จน่าน มีที่ไหนขายลูกบ้างครับ
ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม


ที่นี่เลยครับ
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #263 เมื่อ: วันที่ 16 เมษายน 2014, 08:56:14 »

อยากทราบว่า   สามารถเลี้ยงปลาหมอเทศ ร่วมกับ ปลานิลหมัน หรือ ปลาทับทิม ได้ไหมคะ  บ่อเป็นบ่อดินค่ะ   ยังมีวัชพืชอยู่ตามขอบบ่อ  ซี่งสามารถเป็นอาหารของปลาได้อยู่เป็นปีค่ะ ขนาดของบ่อน่าจะประมาณ 1 ไร่กว่า ๆ  ขุดบ่อตามสภาพของพื้นที่  ซึ่งไม่ได้เป็นลักษณะสี่เหลี่ยมค่ะ
ได้ครับ แต่ปลาหมอจับก่อนปลานิน เวลาจับจะไปกระทบปลานินทำให้ปลานินอาจตายได้ครับ ระยะเวลาจับต่างกัน ถ้าเอาปลานินลงก่อน 3 เดือน แล้วค่อยปล่อยปลาหมอแบบนี้จึงจะดีครับ แต่ปลาหมอจะไม่ค่อยได้ขนาดเพราะอาหารปลาหมอใช้อาหารปลาดุกครับแล้วปลานินก็ชอบมาแย่งกิน
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #264 เมื่อ: วันที่ 16 เมษายน 2014, 08:58:39 »

ไปส่งลูกปลา จ.อุบลราชธานีครับ

 
88,000 ตัว ใช้เวลาวิ่งรถ 18 ชั่วโมงปลาไม่ตายครับอดทนจริง ๆ
IP : บันทึกการเข้า
kiss jung
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,010



« ตอบ #265 เมื่อ: วันที่ 17 เมษายน 2014, 10:09:12 »

รบกวนสอบถามนิดหนึงครับ ต้องให้อาหารปลาเนื้อใช่หรือปล่าวครับ แล้วถ้าเราไม่มีบ่อดินใช่บ่อพลาสติกได้ไหมครับ อัตราส่วนในการปล่อยปลาต้องใช้พื้นที่เท่าไหร่ครับ บ่อแบบนี้ไหวไหมครับหรือต้องบ่อดินอย่างเดียว

บ่อนี้ใช้เลี้ยงกบแล้วมั้งค่ะ ถ้าเลี้ยงปลาหมอคลีบคงไปแทงพลาสติกขาดหมดแน่นอน
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 18 เมษายน 2014, 20:00:20 โดย kiss jung » IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #266 เมื่อ: วันที่ 20 เมษายน 2014, 12:46:12 »

วันนี้ได้คัดลอกบทความเกี่ยวกับการเลี้ยงปลาหมอมาให้อ่านเป็นความรู้กันครับ
       เทคนิคการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทยเชิงพาณิชย
 การเลือกสถานที่
 การเลือกสถานที่กอสรางบอเพาะพันธุ อนุบาลและเลี้ยงปลา เปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญยิ่งและสงผลตอ
ผลสําเร็จในการประกอบการลงทุนหรือไม ดังนั้น ในการเลือกสถานที่และออกแบบฟารม ควรดําเนินการดวยความ
รอบคอบ โดยคํานึงถึงปจจัยตางๆ ดังนี้
 1. ลักษณะดิน
 ที่ดิน ควรเปนพื้นที่ราบ ดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย น้ําไมรั่วซึมงาย สามารถเก็บกักน้ําได 4 - 6
เดือน ไมควรเลือกพื้นที่ที่เปนดินทราย ดินปนกรวด หรือปาพรุที่ดินเปนกรดจัดหรือพื้นที่ทางน้ําผาน ซึ่งน้ํามักไหล
ทวมหลากอยางรุนแรงในฤดูฝน จักทําใหยุงยากในการจัดการฟารม
 2. ลักษณะน้ํา
 พื้นที่เลี้ยงควรอยูใกลแหลงน้ําธรรมชาติ เชน แมน้ํา ลําคลองหรืออางเก็บน้ํา ที่มีปริมาณน้ําเพียงพอ
ตลอดปหรืออยูในเขตชลประทาน หากเปนพื้นที่ที่อาศัยน้ําฝนเพียงอยางเดียว ตองคํานวณปริมาณน้ําฝนที่ตกใน
รอบปดวย ควรหลีกเลียงหางไกลจากเขตดูดทรายในแมน้ํา น้ํามักขุนมากและเขตโรงงานอุตสาหกรรม บอลี้ยงกุง
กุลาดําที่อยูในเขตพื้นที่น้ําจืด นาขาวทิ้งราง สามารถเลี้ยงปลาหมอไทยไดหากอยูในยานที่รับอิทธิพลจากความเค็ม
ท่ไมี เกิน 7.5 สวนในพัน จะกระตุนใหปลากินอาหารมากขึ้น เนื้อปลาเหนียว นุม รสชาติอรอยและปราศจากกลิ่น
โคลน สงผลใหจําหนายไดราคาสูงกวาปกติ
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #267 เมื่อ: วันที่ 20 เมษายน 2014, 12:47:04 »

การเตรียมบอ
 1. สูบน้ําออกจากบอใหแหง
 การสูบบอใหแหง จะชวยกําจัดศัตรูปลาที่หลบซอนอยูในบอ และขจัดของเสียตลอดจนปรับโคลนเลนพื้น
บอใหเหมาะสม หลังจากสูบบอแหงแลว ควรหวานปูนขาวในขณะที่ดินยังเปยก ในอัตรา 100 - 200 กิโลกรัมตอไร
เพื่อปรับสภาพความเปนกรด-ดางของดินและฆาโรคพยาธิ
 2. กําจัดวัชพืชและพันธุไมน้ํา
 วัชพืชและพันธุไมน้ําที่มีอยูในบอ จะเปนแหลงหลบซอนตัวของศัตรูปลาหมอไทย เชน ปลาชอน ปลาดุก
กบและงู เปนตน และทําใหปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ําลดลง เนื่องจากพืชน้ําใชออกซิเจนในการหายใจ
เชนเดียวกับปลา นอกจากนี้ หากมีพืชน้ําอยูในบอมาก จะเปนอุปสรรคตอการใหอาหารปลา และการวิดบอจับปลา
 3. การตากบอ
 การตากบอจะทําใหแกสพิษในดินบางชนิดสลายตัวไป เมื่อถูกความรอนและแสงแดด ทั้งยังเปนการฆา
เชื้อโรค และศัตรูปลาที่ฝงตัวอยูในดิน ควรใชเวลาในการตากบอ 2 - 3 สัปดาห
 4. สูบน้ําเขาบอ
 สูบน้ําใสบอใหไดระดับ 60 - 80 เซนติเมตร ทิ้งไว 2 - 3 วันกอนปลอยปลาลงอนุบาลหรือเลี้ยง ควรใชอวน
ไนลอนสีฟากั้นรอบคันบอใหสูงจากพื้นประมาณ 90 เซนติเมตร เพื่อปองกันศัตรูปลาและปลาหลบหนีออกจากบอ
เนื่องจากปลาหมอไทยมีนิสัยชอบปนปายโดยเฉพาะในชวงที่ฝนตก
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #268 เมื่อ: วันที่ 20 เมษายน 2014, 12:51:32 »

การเลี้ยงปลาหมอไทยในบอดิน
 การเตรียมบอ
 ขนาดบอที่นิยมใชเลี้ยงปลาหมอไทยกันนั้น สวนใหญขนาดไมใหญนัก พื้นที่ประมาณ 1 - 3 งาน หากเปน
บอเลี้ยงกุงเกา ควรมีขนาด 2 ไร ความลึก ประมาณ 1.5 – 2.0 เมตร บอเกาตองสูบน้ําใหแหง กําจัดศัตรูปลา
โดยเฉพาะปลากินเนื้อ วัชพืชและพันธุไมน้ําออกใหหมด หวานปูนขาว ประมาณ 150 – 200 กิโลกรัม/ไร ตากบอ
ใหแหงเปนระยะเวลา 2 - 3 สัปดาห เพื่อเปนการฆาเชื้อโรคและศัตรูปลา กรณีบอใหม หวานปูนขาวปริมาณ 100
กิโลกรัม/ไร อยางไรก็ตาม ปลาหมอไทยไมชอบน้ําที่เปนดางหรือกระดางสูง หรือมี pH สูงนัก pH ของน้ําควรอยู
ในชวง 6.5 – 8.5 ใชอวนไนลอนสีฟากั้นรอบบอใหสูงประมาณ 90 เซนติเมตร เพื่อปองกันปลาหลบหนี
(19) ทางน้ําเขาบอเลี้ยง (20) กอนปลอยปลา (21) กระชังที่ใชเลี้ยงปลาหมอ
16
 
 สูบน้ําลงบอกอนปลอยลูกปลาประมาณ 60 - 100 เซนติเมตร กรองน้ําดวยอวนมุงตาถี่ หรือ อาจฆาเชื้อใน
น้ําดวยคลอรีนผง 3 สวนในลาน และทําสีน้ําสรางหวงโซอาหารธรรมชาติจึงปลอยลูกปลา หลังจากนั้คอยๆ เติมน้ํา
เขาบอจนมีระดับน้ํา 1.5 เมตร ในเวลา 6 สัปดาห และควบคุมระดับนี้ตลอดไป

โดยทั่วไป เกษตรกรนิยมลูกปลา ขนาด 2 - 3 เซนติเมตร อัตราปลอย 30 – 50 ตัว/ตารางเมตร หรือ
50,000 - 80,000 ตัว/ไร หากใชวิธีปลอยพอแมพันธุปลาใหผสมพันธุวางไข อนุบาลและเลี้ยงในบอเดียวกัน
ดังกลาวมาแลวขางตน โดยใชอัตราพอแมปลา 40 – 60 คู/ไร จะไดลูกปลาขนาดใบมะขาม ประมาณ 80,000 –
150,000 ตัว/ไร ทั้งนี้ ความหนาแนนในการเลี้ยงนี้ ขึ้นอยูกับสมรรถนะการจัดการฟารม และงบประมาณเงินทุน
หมุนเวียนในบริหารจัดการฟารมของเกษตรกรแตละรายเปนสําคัญ อยางไรก็ตาม หากมีเปาหมายตองการปลา
ขนาดใหญ ตองปลอยลูกปลาในความหนาแนนต่ําลงมา ประมาณ 20 ตัว/ตารางเมตร หรือ 32,000 ตัว/ไร
 ชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลอยลูกพันธุปลา คือ ชวงเชาหรือเย็น และควรปรับอุณหภูมิของน้ําในถุงให
ใกลเคียงกับน้ําในบอกอน โดยนําถุงลูกปลาแชน้ําในบอเปนเวลา ประมาณ 10 - 15 นาที เพื่อปองกันลูกปลาช็อค
แลวเปดปากถุงคอยๆ เอาน้ําในบอใสถุงเพื่อใหลูกปลาปรับตัวใหเขากับน้ําใหมได

อาหารและการใหอาหาร
 การเลี้ยงปลาหมอไทย แบบยังชีพหรือแบบหัวไร ปลายนา ไมวาในบอปลาหลังบาน รองสวน คันคูน้ํา มุม
บอในนาขาวหรือบอลอปลา นอกจากอาหารตาม ธรรมชาติแลว เกษตรกรนิยมใหอาหารสมทบ จําพวก
(22-23) บอเลี้ยงปลาหมอ
 
17
 
เศษอาหารจากครัวเรือน รําละเอียด ปลาสดสับ ปลวกและการใชไฟลอแมลงกลางคืนตลอดจนอาหารสําเร็จรูป
บางสวน
 สวนการเลี้ยงปลาหมอไทยแบบธุรกิจเชิงพาณิชยนั้น เนนการปลอยเลี้ยงแบบหนาแนนสูงมาก (supper
intensive system) ใชปจจัยการผลิต ทั้งอาหารปลา ยาปองกันรักษาโรคและการถายเปลี่ยนน้ําเต็มที่ หวังผลผลิต
ที่สูงมาก ปลาหมอไทยนั้น เปนปลากินเนื้อ ในชวงแรก จากลูกปลาขนาดใบมะขามเปนปลารุน (อายุ 1 – 2 เดือน)
ตองการอาหารที่มีโปรตีนสูงมาก ไมต่ํากวา 40 % ประมาณ 10 – 5 % ของน้ําหนักตัว หลังจากนั้น เมื่ออายุ 2 –
3 เดือน ตองการอาหารระดับโปรตีนต่ําลงมา คือ 37 – 35 % โดยใหในอัตรา 5 – 3 % ของน้ําหนักตัว วันละ 3 –
4 มื้อ การใหตองเดินหวานอาหารใหรอบบอ ดั
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #269 เมื่อ: วันที่ 20 เมษายน 2014, 12:57:24 »

ปลาหมอ แมเปนปลาที่ทรหด อดทน ทนทาน แตตื่นตกใจจาก
สภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยางฉับพลันไดงาย เชน ฟาผา กิ่งไมใหญหักโคนลงในบอ เสียงระเบิดหรือประทัด
ตลอดการถายลดระดับน้ําลงอยางฉับพลัน ปจจัยเหลานี้ ทําใหปลาไมกินอาหาร 2 – 3 วัน เกษตรกรจึงควรหาทาง
ปองกัน
 แมวาปลาหมอไทยสามารถอาศัยอยูไดในน้ําที่มีคุณภาพต่ํากวาปกติไดก็ตาม แตก็จําเปนตองมีการเปลี่ยน
ถายน้ํา เพราะน้ําใหม จะกระตุนใหปลากินอาหารดีขึ้น สงผลใหเจริญเติบโตดี แข็งแรงและลดของเสียที่หมักหม
มพื้นบอ ทั้งนี้ กอนเปลี่ยนถายน้ําทุกครั้งตองแนใจวาคุณภาพน้ําที่สูบเขามาใหม ไมแตกตางจากคุณภาพน้ําในบอ
มากนักและสะอาดเพียงพอที่จะไมทําใหปลาเปนโรคได ในชวงเดือนแรกไมจําเปนตองเปลี่ยนถายน้ํา แตจะใชวิธี
เพิ่มระดับน้ําทุกสัปดาห หลังจากเดือนที่ 2 แลวจึงเปลี่ยนถายน้ําเดือนละ 2 ครั้ง โดยเปลี่ยนถายน้ําปริมาณ 1 ใน 3
ของน้ําในบอ หรือขึ้นอยูกับสภาพคุณภาพน้ําในบอ ไมควรถายเปลี่ยนน้ําออกมากอยางรุนแรง ที่ทําใหระดับน้ําใน
บอลดลงอยางฉับพลัน ควรถายน้ําพื้นบอออกและปลอยน้ําใหมเขาบออยางสมดุลกัน ปลาจะไมตื่นตกใจ อยางไรก็
ตาม การถายเปลี่ยนน้ําหลังเลี้ยงปลาไปแลว 3 เดือน จะกระตุนใหปลาสมบูรณเพศ ฟอรมไขหรือถุงน้ําเชื้อพัฒนา
เจริญขึ้น

ระยะเวลาเลี้ยงและวีธีการจับปลาจําหนาย
 ระยะเวลาเลี้ยงขึ้นอยูกับขนาดปลาที่ตลาดตองการ สภาวะสิ่งแวดลอมภายในบอและสุขภาพปลา ทั่วไปใช
เวลาเลี้ยง ประมาณ 90 – 120 วัน การจําหนาย ผูเลี้ยงกับแพปลา (พอคาขายสง) มักตกลงราคาขายเหมาบอ โดย
ทอดแหสุมตัวอยางปลาแลวตีราคา พอคาสงมีทีมจับปลาพรอมคัดขนาดเอง บอดานหนึ่งไปยังอีกดานหนึ่ง แลวจึงยกอวนขึ้น ใชสวิงจับปลาใสกระชังพักปลาหรือตะกราเพื่อคัดขนาด บรรจุปลา
ในลังไม ใชน้ําสะอาดฉีดพนทําความสะอาดตัวปลา ซึ่งมักติดคราบและกลิ่นโคลนดินหลายๆ ครั้ง แลวลําเลียง
ผลผลิตสูตลาดตอไป สวนปลาที่เหลือจํานวนนอยในบอ เจาของบอสูบน้ําออกจากบอจนแหงและจับปลาที่เหลืออยู
ตามพื้นบอไวบริโภคเองและแจกจายเพื่อนบาน หลังจากนั้น จึงลอกโคลนเลน ตากบอใหแหงและเตรียมบอ เพื่อ
เริ่มตนเลี้ยงปลาในรุนตอไป
ผลตอบแทนและตนทุน
 ผลการติดตามเก็บรวบรวมขอมูลการเลี้ยงปลาหมอไทย ของฟารมปลาตัวอยางในตําบลบางกุง อําเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และตําบลเสาเภา อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใชบอดิน ขนาด 1,000 และ
1,770 ตารางเมตร ปลอยลูกปลาขนาดใบมะขาม จํานวน 40,000 และ 55,000 ตัว (คิดเปนอัตราปลอย 40 และ 31
ตัว/ตารางเมตร) ระยะเวลาเลี้ยง 102 และ 107 วัน ตามลําดับ มีผลผลิตเฉลี่ย 4,160 และ 5,300 กิโลกรัม/บอ
อัตราแลกเนื้อ 1.48 และ 1.59 อัตรารอด 93.67 และ 96.36 % จําหนายปลามีรายได ประมาณ 228,800 และ
280,900 บาท/บอ มีตนทุนดําเนินการเฉลี่ย 41.15 และ 42.43 บาท/กิโลกรัม คิดเปนกําไรเฉลี่ย 13.85 และ 10.57 บาท/กิโลกรั]
IP : บันทึกการเข้า
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #270 เมื่อ: วันที่ 20 เมษายน 2014, 13:05:05 »

การจําหนายปลาหมอไทย จะมีการคัดขนาดปลาหนาฟารมกอนลําเลียงขนสงสูพอคาปลีก หรือผูบริโภค
ใชสายตากะประมาณขนาดปลา โดยอาศัยคนงานที่มีทักษะความชํานาญ มักแบงปลาออกเปน 4 ขนาด มีราคา
ขายสง ณ ปากบอปลา ดังนี้
 1. ปลาขนาดใหญมาก ขนาด 3 - 5 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 60 - 70 บาท
 2. ปลาขนาดใหญ ขนาด 6 - 10 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 55 - 60 บาท
 3. ปลาขนาดกลาง ขนาด 11 - 15 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 40 - 50 บาท
 4. ปลาขนาดเล็ก ขนาด 16 - 40 ตัว/กก. ราคากิโลกรัมละ 5 - 25 บาท
 อยางไรก็ตาม ปลาขนาดเล็ก (ขนาดที่ 4) แพปลาหรือพอคาขายสง จะไมรับซื้อ แตใหเจาของบอจําหนาย
เอง สวนใหญ จําหนายในชุมชนทองถิ่นหรือใชทําปลาเค็มตากแหงหรือปลารา สวนผลการสํารวจเก็บขอมูลสภาวะ
การเลี้ยงปลาหมอไทยในจังหวัดนครศรีธรรมราช และสุราษฎรธานี ป 2546 พบวาสวนใหญ เกษตรกรนิยมใชบอ
ขนาด 1 – 4 งาน โดยมีคาเฉลี่ย ดังนี้ ขนาดบอ 1,049 ตารางเมตร ปลอยปลา 36,000 ตัว (อัตราปลอย 34.33 ตัว/
ตารางเมตร) ระยะเวลาเลี้ยง 90 วัน ผลผลิต 2,303.5 กิโลกรัม ขนาดปลาที่จับ 10 – 11 ตัว/กิโลกรัม อัตราแลกเนื้อ
1.53 อัตราเจริญเติบโต 1.13 กรัม/วัน และอัตรารอดตาย 63.53 %
การตลาดและระดับราคา
ตลาดที่เปนแหลงซื้อขายปลาหมอไทยหรือปลาน้ําจืดอื่นๆขนาดใหญ ที่มีการประมูลราคา หรือซื้อขาย
ลวงหนา เชน ตลาดกลางสัตวน้ํา มหาชัย ตลาดกลางหัวเกาะ จังหวัดสมุทรปราการ ตลาดกลางสัตวน้ําอางทอง
นอกจากนี้ยังตลาดไท รังสิต ตลาดบางประกง ตลาดลาดกระบัง และสะพานปลากรุงเทพฯ ในภาคเหนือ เชน
ตลาดแมต๋ํา จังหวัดพะเยา ตลอดจนตลาดสดประจําตําบล อําเภอและจังหวัดตางๆ วางจําหนายในลักษณะปลามี
ชีวิต (แชน้ํา) หรือปลาสดที่ขูดเกล็ด ผาทองทําความสะอาดพรอมนําไปประกอบอาหารไดเลย วิถีการตลาดปลา
หมอไทย เมื่อเกษตรกรเลี้ยงปลาไดขนาดตลาดหรือประสงคจับจําหนาย จะมีนายหนาหรือพอคาคนกลางใน
ทองถิ่นหรือจังหวัดใกลเคียง เขามาติดตอแนะนําพอคาสง (แพปลา) เพื่อสุมตัวอยาง ตอรองตกลงราคาพรอมนัด
หมายวันจับปลา สวนใหญตกลงราคาและซื้อขายกันเปนเงินสด พอคาสงนี้ จะคัดปลาแตละขนาดกระจายผลผลิต
ไปยังพอคาปลีกประจําเขียงปลาในตลาดสดประจําชุมชนตางๆ หรือจัดสงไปยังรานอาหารหรือผูบริโภค ซึ่งเปน
ลูกคาประจําในปริมาณและชวงเวลาที่แนนอน เชน รานขาวแกงตามสถานีบริการน้ํามัน สถานีขนสง หรือยาน
ชุมชน ซึ่งเชื่อถือและติดตอธุรกิจกันมานานแลว จีงมักซื้อขายเงินเชื่อ ชําระเงินกันเปนงวดหรือเช็คสั่งจายลวงหนา

สวนเหลื่อมการตลาด (Margin of Market) จากสาเหตุที่ปลาตองแชน้ํา เพราะการซื้อขายหรือผูบริโภค
นิยมปลามีชีวิต ทําใหสวนเหลื่อมการตลาดสูงมาก เพราะพอคาตองรับความเสี่ยงสูงเชนกัน กลาวคือ ปลาขนาด
ใหญ 6 - 10 ตัว/กิโลกรัม ราคาปากบอ 55 – 60 บาท/กิโลกรัม พอคาขายปลีก 80 บาท (สวนเหลื่อมการตลาด
ประมาณ 20 บาท) หากปลาตาย ราคาขายจะเหลือประมาณ 20 บาท ประเด็นนี้ จึงเปนขอจํากัดที่กระทบโดยตรง
ตอราคาปลาปากบอ หรือรายไดที่เกษตรกรจะไดรับ
ระดับราคาที่เกษตรกรจําหนายไดหนาฟารม ในรอบ 10 ปที่ผานมา เคลื่อนไหวคอนขางคงที่ (สูงต่ํา
ประมาณ 3 - 5 บาท/กิโลกรัม) ขณะที่ราคาขายปลีกหรือราคาที่ผูบริโภคจาย คอนขางผันผวนหรือมีสวนเหลื่อมสูง
มาก (ประมาณ 20 – 35 บาท/กิโลกรัม)
เมื่อพิจารณาดานอุปทาน พบวาปริมาณผลผลิตปลาหมอไทยนั้น ยังต่ํา เมื่อเทียบกับปริมาณปลาน้ําจืด
ชนิดอื่นๆ และความตองการบริโภคปลาของประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น แตพบวาการกระจุกตัวของแหลงเลี้ยงปลา ที่
หนาแนนอยูเพียงพื้นที่ไมกี่อําเภอ ปริมาณปลาหมอที่จับไดจากธรรมชาติ (ปริมาณตามฤดูกาลและปลาหมอไทย
จากนาปลาสลิด) ชองทางการกระจายและวางจําหนายผลผลิตสูตลาดหรือผูบริโภค ผานแพปลาหรือพอคาขายสงที่
ผูกขาดอยูเพียงนอยราย จึงเปนขอจํากัดที่มีนัยสําคัญยิ่งตอระดับราคาปลาที่เกษตรกรพึงจําหนายได นอกจากนี้
ปญหาตนทุนการผลิตสูงขึ้น โดยเฉพาะราคาอาหารปลาที่เพิ่มสูงขึ้นมากในรอบปนี้ และปญหาโรคปลาระบาด
เหลานี้เปนปจจัยเสี่ยงตอผลประกอบการของเกษตรกรทั้งสิ้น อยางไรก็ตาม เกษตรกรตองพัฒนาระบบการเลี้ยง
ปลาเชิงคุณภาพมากขึ้น โดยมุงขนาดปลาเปาหมาย มากกวาปริมาณผลผลิตตอพื้นที่ นั่นคือ ปลอยลูกปลา
หนาแนนลดลง เนนโปรแกรมการใหอาหารและเทคนิคการจัดการ เพื่อลดตนทุนการผลิต การควบคุมสิ่งแวดลอม
ในบอ เพื่อปองกันโรคพยาธิ เพิ่มอตรารอดและคุ้มคาของผลผลิตมากขึ้น

IP : บันทึกการเข้า
ohm12369874
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 340



« ตอบ #271 เมื่อ: วันที่ 25 เมษายน 2014, 14:06:25 »

ฟามอยู่ที่ไหนหรอครับ สนใจ
IP : บันทึกการเข้า
kiss jung
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,010



« ตอบ #272 เมื่อ: วันที่ 27 เมษายน 2014, 14:34:51 »

ฟามอยู่ที่ไหนหรอครับ สนใจ
อยู่อ.พาน จ.เชียงรายค่ะ
IP : บันทึกการเข้า
tom1963
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 637



« ตอบ #273 เมื่อ: วันที่ 27 เมษายน 2014, 14:38:58 »

กรณีรับซื้อคืน จ่ายเงินกันแบบไหนครับ จ่ายสดที่หน้าชั่ง รึเปล่าครับ.. ยิงฟันยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า

เบอร์โทรติดต่อ>>>>
085 039 7303
kiss jung
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,010



« ตอบ #274 เมื่อ: วันที่ 27 เมษายน 2014, 19:55:30 »

กรณีรับซื้อคืน จ่ายเงินกันแบบไหนครับ จ่ายสดที่หน้าชั่ง รึเปล่าครับ.. ยิงฟันยิ้ม
จ่ายสดหน้าบ่อเลยค่ะ มีปัญหาอะไรรบกวนโทรสอบถามโดยตรงได้เลยนะค่ะ  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 28 เมษายน 2014, 09:59:30 โดย kiss jung » IP : บันทึกการเข้า
chate
แฟนพันธ์แท้
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 5,023


« ตอบ #275 เมื่อ: วันที่ 28 เมษายน 2014, 10:50:44 »

มาแอ่วผ่อครับ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ
IP : บันทึกการเข้า
adully
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 376


« ตอบ #276 เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2014, 22:34:19 »

ปลาโตไวดีครับเดี๋ยววันที่ 5 พ.ค ครบ 2 เดือน(วันหยุดพอดี)จะยกยอเอารูปลงครับ
เท่าที่ผ่านมาลง 30,000 ตัวอาหารเดือนแรกหมดกระสอบเดียวครับเดือนนี้
หมดไปอีก 2 กระสอบกระสอบ 3 กำลังจะเปิด รอดูเรื่อยๆ เก็บข้อมูลไป
วันที่ 5 พ.ค จะลองเก็บตัวอย่างมาวัดขนาดดูครับ อึดครับไม่ตายยังไม่เห็นลอยตาย
เลย ตอนนี้ให้อาหารที่ 1.5 โลต่อรอบครับ 15 นาทีหมดดูพัฒนาการแล้วน่าจะดีครับ
ยุบๆยับๆ ไปหมดถ้าถึงเวลาอาหาร คืนนี้ฝนตกด้วยเสียวจังกลัวมันคลานออก :oไปดูแล้วโล่งตอนนี้ฝนหยุดแล้ว ยิ้มกว้างๆ
IP : บันทึกการเข้า
tom1963
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 637



« ตอบ #277 เมื่อ: วันที่ 30 เมษายน 2014, 08:00:22 »

ปลาโตไวดีครับเดี๋ยววันที่ 5 พ.ค ครบ 2 เดือน(วันหยุดพอดี)จะยกยอเอารูปลงครับ
เท่าที่ผ่านมาลง 30,000 ตัวอาหารเดือนแรกหมดกระสอบเดียวครับเดือนนี้
หมดไปอีก 2 กระสอบกระสอบ 3 กำลังจะเปิด รอดูเรื่อยๆ เก็บข้อมูลไป
วันที่ 5 พ.ค จะลองเก็บตัวอย่างมาวัดขนาดดูครับ อึดครับไม่ตายยังไม่เห็นลอยตาย
เลย ตอนนี้ให้อาหารที่ 1.5 โลต่อรอบครับ 15 นาทีหมดดูพัฒนาการแล้วน่าจะดีครับ
ยุบๆยับๆ ไปหมดถ้าถึงเวลาอาหาร คืนนี้ฝนตกด้วยเสียวจังกลัวมันคลานออก :oไปดูแล้วโล่งตอนนี้ฝนหยุดแล้ว ยิ้มกว้างๆ

อยากเห็นจังครับ สนใจอยู่พอดี ตอนนี้เตรียมบ่ไว้แล้ว น้ำยังไม่มา ถ้าได้ผลดีจะขอทำดูบ้าง เอาใจช่วยให้สำเร็จนะครับ
IP : บันทึกการเข้า

เบอร์โทรติดต่อ>>>>
085 039 7303
lisen
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 439



« ตอบ #278 เมื่อ: วันที่ 30 เมษายน 2014, 20:47:44 »

นิสัยของปลาหมอ จะคลานออกบ่อต่อเมื่อต้องการไปวางไข่ครับปลาเกือบทุกชนิดจะมีนิสัยว่ายทวนน้ำเพื่อไปวางไข่ที่ต้นน้ำปลาหมอจะคลานหนีต่อเมื่อหมดระยะคุมหมัน คือย่างเข้าเดือนที่ 6 ครับ (ไอ่ตัวในบ่อตอนนี้ไม่อยากออก แต่ระวังไอ่ตัวข้างนอกที่มันอยากเข้า) มันคือปลาช่อน ระวังหน่อยเน้อครับ
IP : บันทึกการเข้า
adully
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 376


« ตอบ #279 เมื่อ: วันที่ 01 พฤษภาคม 2014, 11:29:24 »

นิสัยของปลาหมอ จะคลานออกบ่อต่อเมื่อต้องการไปวางไข่ครับปลาเกือบทุกชนิดจะมีนิสัยว่ายทวนน้ำเพื่อไปวางไข่ที่ต้นน้ำปลาหมอจะคลานหนีต่อเมื่อหมดระยะคุมหมัน คือย่างเข้าเดือนที่ 6 ครับ (ไอ่ตัวในบ่อตอนนี้ไม่อยากออก แต่ระวังไอ่ตัวข้างนอกที่มันอยากเข้า) มันคือปลาช่อน ระวังหน่อยเน้อครับ
เป็นจั่งซี่นี่เองสงสัยต้องกันไว้ก่อน
IP : บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 [14] 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 ... 44 พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!