เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
วันที่ 24 กรกฎาคม 2025, 01:52:52
หน้าแรก ช่วยเหลือ เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก



  • ข้อมูลหลักเว็บไซต์
  • เชียงรายวันนี้
  • ท่องเที่ยว-โพสรูป
  • ตลาดซื้อขายสินค้า
  • ธุรกิจบริการ
  • บอร์ดกลุ่มชมรม
  • อัพเดทกระทู้ล่าสุด
  • อื่นๆ

ประกาศ !! กรุณาอ่านเพื่อทำความเข้าใจ : https://forums.chiangraifocus.com/index.php?topic=1025412.0

+  เว็บบอร์ด เชียงรายโฟกัสดอทคอม สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
|-+  ศูนย์กลางข้อมูลเชียงราย
| |-+  คนเชียงราย สังคมเชียงราย (ผู้ดูแล: bm farm, [ตา-รา-บาว], zombie01, ۰•ฮักแม่จัน©®, ตาต้อม, nuifish, NOtis)
| | |-+  ทำยังไงในการป้องกันความรับผิดชอบจากการทำธุรกรรมของบุตร
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
หน้า: [1] พิมพ์
ผู้เขียน ทำยังไงในการป้องกันความรับผิดชอบจากการทำธุรกรรมของบุตร  (อ่าน 665 ครั้ง)
Helpme
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 834


« เมื่อ: วันที่ 28 มิถุนายน 2013, 13:55:41 »

พูดง่ายๆ คือทำยังไงในการป้องกัน หรือบิดา มารดา  ไม่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
ในการทำนิติกรรม สัญญา  หรือธุรกรรมใดๆ  ที่ผู้เป็นบุตรเป็นผู้ทำขึ้น
เช่น ไปทำสัญญาซื้อขาย  กู้เงิน  ค้ำประกัน  ประมาณนี้อ่ะครับ
เห็นใน นสพ. บ่อยๆ ที่เคยลงประกาศไม่รับผิดชอบการกระทำของ (อดีต) พนักงาน
เราทำอย่างนี้บ้างได้หรือไม่ครับ  ฮืม
IP : บันทึกการเข้า
saifa555
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 173


« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 28 มิถุนายน 2013, 15:54:02 »

หากบุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ แม้จะทำสัญญาไว้ ศาลท่านจะพิจารณาเป็นโมฆียะ
"โมฆียะ" ไม่ได้หมายถึงการเสียเปล่า ใช้บังคับกันไม่ได้ แต่หมายถึงเป็นนิติกรรมสัญญาที่ยังคงใช้บังคับกันได้อยู่ จนกว่าจะมีการบอกล้างโดยชอบกฎหมาย
กรณีที่ทำให้นิติกรรมสัญญาที่บุคคลได้ทำกันขึ้นมาแล้วตกเป็นโมฆียะ เช่น

 บุคคลผู้แสดงเจตนาทำนิติกรรมสัญญา ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เป็นผู้เยาว์ เป็นคนไร้ความสามารถหรือเป็นคน เสมือนไร้ความสามารถตามกฎหมาย (มาตรา 153)
 ว่าง่ายๆคือสามารถบอกเลิกได้หากต้องการ ครับ
 ผิดตกยกเว้นอภัยกันนะ
IP : บันทึกการเข้า
Ossy
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 485



« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 28 มิถุนายน 2013, 16:00:56 »

พูดง่ายๆ คือทำยังไงในการป้องกัน หรือบิดา มารดา  ไม่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
ในการทำนิติกรรม สัญญา  หรือธุรกรรมใดๆ  ที่ผู้เป็นบุตรเป็นผู้ทำขึ้น
เช่น ไปทำสัญญาซื้อขาย  กู้เงิน  ค้ำประกัน  ประมาณนี้อ่ะครับ
เห็นใน นสพ. บ่อยๆ ที่เคยลงประกาศไม่รับผิดชอบการกระทำของ (อดีต) พนักงาน
เราทำอย่างนี้บ้างได้หรือไม่ครับ  ฮืม


หมายถึงบุตรที่บรรลุนิติภาวะแล้วใช้มั้ยครับ ฮืม
IP : บันทึกการเข้า

จุดยืนของทุกคนคือ ส้นตีนตัวเองครับ
Helpme
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 834


« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 28 มิถุนายน 2013, 16:04:04 »

พูดง่ายๆ คือทำยังไงในการป้องกัน หรือบิดา มารดา  ไม่ต้องรับผิดชอบตามกฎหมาย
ในการทำนิติกรรม สัญญา  หรือธุรกรรมใดๆ  ที่ผู้เป็นบุตรเป็นผู้ทำขึ้น
เช่น ไปทำสัญญาซื้อขาย  กู้เงิน  ค้ำประกัน  ประมาณนี้อ่ะครับ
เห็นใน นสพ. บ่อยๆ ที่เคยลงประกาศไม่รับผิดชอบการกระทำของ (อดีต) พนักงาน
เราทำอย่างนี้บ้างได้หรือไม่ครับ  ฮืม


หมายถึงบุตรที่บรรลุนิติภาวะแล้วใช้มั้ยครับ ฮืม
ขอทั้ง 2 กรณีเลยครับ คือยังไม่บรรลุนิติภาวะ
กับบรรลุนิติภาวะแล้ว
IP : บันทึกการเข้า
weza1967
มัธยม
**
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 871


« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 30 มิถุนายน 2013, 22:02:16 »

 ยิ้ม
IP : บันทึกการเข้า
boonsong_2502
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 137


« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 01 กรกฎาคม 2013, 07:44:50 »

กรณีบรรลุนิติภาวะแล้ว ตามกฎหมายถือว่าไม่เกี่ยวกันแล้วครับ ไม่ต้องไปรับผิดชอบอะไร เว้นแต่เขาเอาของที่ไม่ใช่ของตัวเองไปขายหรือทำสัญญา ถ้าผู้ซื้อ/ทำสัญญาด้วยทำโดยบริสุทธิใจ ก็เป็นไปตามนั้น คุณกับลูกก็ว่ากันเอาเอง
ปัญหาคือ ไม่มีใครตัดลูกไม่ขาด ก็เลยมีคำถามนี้ขึ้นมา  ไม่เหมือนบริษัทครับ พนักงานลาออกแล้วไปทำอะไร ก็ไม่เกี่ยวกับบริษัท แล้วบริษัทก็ไม่สนใจอะไรด้วย
IP : บันทึกการเข้า
saifa555
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 173


« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 01 กรกฎาคม 2013, 10:15:52 »

ขอ อุปมาอุปมัยดังนี้ครับ(กรณีบุตร บรรลุนิติภาวะ)

หากบุคคลหนึ่งมีทรัพย์ เมื่อ"ตาย" ทรัพย์มรดกมีอยู่ คู่สมรส(หากมี)ผู้สืบสกุล(หากมี)และผู้สืบสันดาน(หากมี)จะเป็นผู้ได้รับส่วนตามลำดับ
ทำนองเดียวกัน เมื่อ"ตาย"หากมีหนี้สินอยู่ ก็เช่นเดียวกับข้างต้น

ดังนั้นหากบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่ย่อมเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นและเป็นผู้รับผิดชอบต่อหนี้สินนั้นครับ

ผู้สืบสันดานหมายถึง บิดา มารดา เป็นต้นครับ

หากบุคคลผู้บรรลุนิติภาวะนำทรัพย์ของผู้อื่นไปใช้ในทางต่างๆกัน โดยเจ้าของทรัพย์ไม่ยินดี ย่อมเข้าข่ายฉ้อโกง

หากพออภัยได้ก็อภัยเถิด เพราะทรัพย์นั้นคงยากได้คืน
ช้าเร็วทรัพย์ที่บิดา มารดาหามา ย่อมมอบให้บุตร ธิดา หากบุตรธิดานั้นไม่สามารถรักษาได้ เราก็ตายไปแล้ว จะแก้ไขอะไรได้


"ปล่อย" "วาง" ความเป็นตัวตน ของตน คือทางพ้นทุกข์
IP : บันทึกการเข้า
อย่าถามว่ารักเมียมั๊ย
ชั้นประถม
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 226



« ตอบ #7 เมื่อ: วันที่ 01 กรกฎาคม 2013, 10:28:58 »

ขอ อุปมาอุปมัยดังนี้ครับ(กรณีบุตร บรรลุนิติภาวะ)

หากบุคคลหนึ่งมีทรัพย์ เมื่อ"ตาย" ทรัพย์มรดกมีอยู่ คู่สมรส(หากมี)ผู้สืบสกุล(หากมี)และผู้สืบสันดาน(หากมี)จะเป็นผู้ได้รับส่วนตามลำดับ
ทำนองเดียวกัน เมื่อ"ตาย"หากมีหนี้สินอยู่ ก็เช่นเดียวกับข้างต้น

ดังนั้นหากบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่ย่อมเป็นผู้มีกรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นและเป็นผู้รับผิดชอบต่อหนี้สินนั้นครับ

ผู้สืบสันดานหมายถึง บิดา มารดา เป็นต้นครับ

หากบุคคลผู้บรรลุนิติภาวะนำทรัพย์ของผู้อื่นไปใช้ในทางต่างๆกัน โดยเจ้าของทรัพย์ไม่ยินดี ย่อมเข้าข่ายฉ้อโกง

หากพออภัยได้ก็อภัยเถิด เพราะทรัพย์นั้นคงยากได้คืน
ช้าเร็วทรัพย์ที่บิดา มารดาหามา ย่อมมอบให้บุตร ธิดา หากบุตรธิดานั้นไม่สามารถรักษาได้ เราก็ตายไปแล้ว จะแก้ไขอะไรได้


"ปล่อย" "วาง" ความเป็นตัวตน ของตน คือทางพ้นทุกข์
เข้ากับหลักความจริงที่ว่า "สร้างเหตุไว้อย่างไรผลที่ได้ก็จะเป็นตามนั้น"
เมื่อบุตรหลานยังเยาว์วัยเราอบรมสั่งสอนเขาอย่างไร เมื่อเติบใหญ่เขาก็จะมีนิสัยตามที่เราสั่งสอนมา ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ
IP : บันทึกการเข้า

ถามทำไมยังไงก็รัก
Mong6
ระดับ ป.ตรี
***
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1,363



« ตอบ #8 เมื่อ: วันที่ 01 กรกฎาคม 2013, 10:32:17 »

.
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 06 ตุลาคม 2013, 06:31:33 โดย MK-5 » IP : บันทึกการเข้า
หน้า: [1] พิมพ์ 
« หน้าที่แล้ว ต่อไป »
กระโดดไป:  


เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

 
เรื่องที่น่าสนใจ
 

ข้อความที่ท่านได้อ่านบนกระดานข่าวแห่งนี้ เกิดขึ้นจากการเขียนโดยสาธารณชน และตีพิมพ์แบบอัตโนมัติ ผู้ดูแลเว็บไซต์แห่งนี้ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
และไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆ ผู้อ่านจึงต้องใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรองด้วยตัวเอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดๆ ที่ขัดต่อกฎหมาย และศีลธรรม พาดพิง ละเมิดสิทธิบุคคอื่น ต้องการแจ้งลบ
กรุณาส่งลิงค์มาที่
เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกให้ทันที..."

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.21 | SMF © 2013, Simple Machines
www.chiangraifocus.com

Valid XHTML 1.0! Valid CSS!